สถิติ
เปิดเมื่อ19/10/2011
อัพเดท4/10/2023
ผู้เข้าชม5384607
แสดงหน้า7595137
สินค้า
บทความ
ทางเดินอาหาร
16 วิธีป้องกันท้องอืด จากโรคกรดไหลย้อนกลับ (GERD)
ภาวะกรดไหลย้อน
นม GTF
โรคลึกลับ CFS (Chronic fatigue syndrome หรือโรคอ่อนเพลียเรื้อรัง ) ยาแก้และวิธีแก้
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 4)
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ(ตอนที่ 3)
อันเนื่องมากจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 2)
อันเนื่องมาจากความหวาน ระวัง! อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุอย่านึกว่าเป็นเรื่องเล็ก(ตอนที่ 1)
การอนุญาตและการจดทะเบียนในประเะทศต่างๆ
สิทธิบัตรของนม GTF
สิทธิบัตรของนม GTF
นม GTF กับรูปร่างและผิวพรรณ
โรงพยาบาลที่ใช้ ผลิตภัณฑ์ GTF
รางวัลต่างๆ ของนม GTF
การวิจัยและพัฒนานม GTF
ทำไมคนรุ่นใหม่...ขาดสารอาหาร
คำแนะนำการบริโภคนม GTF
รายละเอียดนม GTF
ประโยชน์ที่ได้รับจากนม GTF
VDO ประสบการณ์ผู้ใช้ GTF
VDO รายละเอียด GTF ตอนที่ 1-5
นม GT&F ช่วยให้คุณควบคุมโรคเบาหวาน ได้อย่างไร..
ทำไมต้องนม GTF
มะเร็ง
ถั่วเหลืองกับมะเร็งเต้านม
การฟื้นฟูร่างกายหลังได้รับเคมีบำบัด
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 3
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 2
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 1
วิธีป้องกันการติดเชื้อระหว่างเคมีบำบัด
แอสตาแซนธิน (Astaxanthin)
สารอนุมูลอิสระ (Free Radicals) คืออะไร?
แอสตาแซนธิน : การลดความเมื่อยล้าของดวงตา
แอสตาแซนธิน : ความทนทานและการฟื้นตัวของกล้ามเนื้อ
แอสตาแซนธิน : สารต้านอนุมูลอิสระที่เหนือกว่า
“Astaxanthin” คืออะไร?
ผิวหนัง
ตำแหน่งสิวบอกอารมณ์และโรคได้
วิธีปราบสิว
โรคสะเก็ดเงินหรือโรคเรื้อนกวาง ( Psoriasis )
โรคผิวหนังอักเสบ (ECZEMA)
สิว และวิธีแก้ปัญหาเกี่ยวกับ สิว เบื้องต้น
บทความทั่วไป
10 ความจริงเกี่ยวกับตัวเรา... ที่คุณอาจไม่รู้
เคล็ดลับในการกินอาหารเสริม
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
5 ผลวิจัย พิชิตความเครียด
10 การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ที่บ่งบอกว่าคุณกำลังเป็นโรค…
พลังงานแม่เหล็กบำบัดโรค
เตือน “กินน้ำตาลเกินจำเป็น” โอกาสเกิดโรคแทรกง่ายขึ้น
18 สาเหตุ ทำให้ไม่มีเรี่ยวแรง + อ่อนเพลีย
การเสียชีวิตของนักกีฬาในสนามแข่งขัน
รู้ได้อย่างไรว่า...อ้วนลงพุง หรือ เป็น Metabolic syndrome
ไม่ขับถ่ายตอนเช้าจะเกิดอะไรขึ้น
การเลือกรับประทานอาหารเสริม วิตามิน และเกลือแร่
อาหารเสริม Co-Enzyme Q10 โคเอ็นไซม์ คิวเท็น คืออะไร
วิธีป้องกัน อาการภูมิแพ้
กินยาแก้อักเสบ (ยาปฏิชีวนะ) บ่อยๆ ทำให้เชื้อโรคดื้อยา รักษาไม่หาย
แครนเบอรรี่ Cranberry
การกอด มหัศจรรย์แห่งสัมผัส
โรคภูมิแพ้
อันตรายจากบุหรี่ และตัวช่วยล้างพิษจากบุหรี่
วิธีการดื่มน้ำที่ถูกวิธี
Bell Stem Cell Activator, 60 caps
เมลาโตนิน (Melatonin)
นาฬิกาชีวภาพ นาฬิกาชีวิต
กรดอะมิโนจำเป็น 9 ชนิด ที่ร่างกายสร้างขึ้นเองไม่ได้
อาหารธัญพืชปรุงพิเศษ
เบาหวาน
เรื่องหวานๆ กับยาเบาหวาน
ความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยเบาหวาน
ภัยเงียบ....โรคหัวใจในผู้เป็นเบาหวาน
เลือดหนืดในโรคเบาหวาน
เลือดข้นกับโรคหัวใจ
เบาหวาน
การควบคุมอาหารในผู้ป่วยเบาหวาน
ทางเดินปัสสาวะ
Share โรคไตวายเรื้อรัง Chronic renal failure (CRF)
สาเหตุของโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis) อาการของโรค และวิธีรักษา
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ Urinary tract infections (UTI)
สมองและระบบประสาท
โคลีน
โคลีน ไบทาร์เทรต (Choline Bitartrate)
ใบบัวบก (Gotu Kola)
DMEA
cavinton หรือ vinpocetine
Neuro-ps บำรุงสมอง เพิ่มความจำ ลดความเครียด ช่วยเรื่องการนอนหลับ
ถาม-ตอบ เกี่ยวกับการใช้ Neuro-PS
Neuro-PS บำรุงสมอง,เสริมความจำ ลดความเครียด
บทความจากต่างประเทศ
How To Decrease Inflammation‏
Alzheimer’s on the Rise: What You Can Do
ปฎิทิน
October 2023
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
    
สมาชิก

สมัครสมาชิก | ลืมรหัสผ่าน

การควบคุมอาหารในผู้ป่วยเบาหวาน

อ่าน 5978 | ตอบ 2
การควบคุมอาหารในผู้ป่วยเบาหวาน

การรับประทานอาหารอย่างถูกต้องและเป็นเวลา จะช่วยในการรักษาโรคเบาหวาน จะทำให้น้ำตาลในเลือดลดลง และยังเป็นการลดความอ้วนในคนที่อ้วนมาก จะช่วยป้องกันโรคแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้น เช่น โรคหัวใจ, โรคไต,ตับ,ตา,ความดันโลหิตสูง,แผลเน่าเปื่อย,โลหิตเป็นพิษ โดยปฏิบัติดังนี้

อย่า

  • รับประทานอาหารจุกจิบหรือไม่ตรงเวลาหรือปริมาณไม่แน่นอน คือ บางมื้อมากไป บางมื้อน้อยไป

ห้าม

  •  น้ำหวาน น้ำอัดลม นมหวาน (ถ้าอยากดื่มนมให้ดื่มนมจืด)
  • ขนมหวาน ขนมเชื่อมน้ำตาล
  • เหล้า เบียร์
  • ผลไม้ที่มีรสหวานจัดหรือมีน้ำตาลสูง เช่น ทุเรียน ขนุน ลำไย ลิ้นจี่ องุ่น และผลไม้กระป๋อง ผลไม้แช่อิ่มเชื่อมน้ำตาลทั้งหลาย

 

'ท่านสามารถควบคุมระดับน้ำตาล ในเลือดได้ด้วยการรับประทานอาหาร อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับโรคเบาหวาน'

ลด

  •  อาหารพวกแป้ง เช่น ข้าว ขนมปัง ขนมจีน ผักที่มีน้ำตาลหรือแป้งมาก เช่น ฟักทอง ผลไม้ที่มีรสหวาน เช่น มะละกอ ส้ม แตงโม
  • ถ้าอ้วนมาก ๆ ควรลดอาหารที่มีมันมาก ๆ หรือ อาหารทอดน้ำมันมาก ๆ ลดหรืองดรบประทานไขมันจากสัตว์ ตลอดจนไขมันจากพืชบางอย่าง เช่น กะทิ น้ำมันมะพร้าว น้ำมันปาล์ม
  • ถ้ามีความดันเลือดสูงอยู่ด้วย ควรรับประทานเค็มน้อย ๆ
ควร
  • รับประทานอาหารโปรตีนให้มากขึ้น เช่น ไก่ ปู ปลา กุ้ง เนื้อ หมู และที่ดี คือ โปรตีนจากพืช เช่น ถั่ว เต้าหู้
  • รับประทานอาหารที่มีกากใยมาก ๆ เช่น ข้าวซ้อมมือถั่วฝักยาวหรือถั่วแขก ตลอดจนผักทุกชนิด รับประทานได้ไม่จำกัด รับประทานได้ไม่จำกัด เม็ดแมงลัก นอกจากมีใยอาหารมากยังเป็นยาระบายอ่อน ๆ ได้ด้วย

 

ผลไม้ที่รับประทานได้ชนิดละหนึ่งครั้ง
กล้วย 1/2 ผล มะละกอ 1/3 ผล
แตงโม 1 ถ้วย ส้ม 1 ผล
มะม่วง 1/2 ผล สับปะรด 1/2 ถ้วย

 

 

ขนาดอาหารที่รับประทานได้ชนิดละหนึ่งครั้ง
ก๋วยเตี๋ยว 1/2 ถ้วย มักกะโรนี 1/2 ถ้วย
ขนมปัง 1 แผ่น มันฝรั่ง 1 หัว
ข้าวโพด 1/3 ถ้วย มันฝรั่งบด 1/2 ถ้วย
ข้าวสวย 1/2 ถ้วย สปาร์เก็ตตี้ 1/2 ถ้วย
แป้งผง 2 1/2 ช้อนโต๊ะ ไอศกรีม 1/2 ถ้วย

 

 

ขนาดของอาหารไขมันที่รับประทานชนิดละหนึ่งครั้ง
กุ้ง 5 ตัว เนื้อไก่ 30 กรัม
ไข่ 1 ฟอง เนื้อหมู 30 กรัม
ตับ 30 กรัม เนื้อวัว 30 กรัม
นก 30 กรัม ปลา 30 กรัม
เนื้อแกะ 5 30 กรัม เป็ด 30 กรัม

ข้อมูลจาก http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet4/june22/pub1.htm


เอกสารเผยแพร่ของหน่วยงานสุขศึกษาและประชาสัมพันธ์ กองการพยาบาล รพ.ภูมิพลอดุลยเดช

สนใจผลิตภัณฑ์ทีช่วยควบคุมเบาหวาน สั่งซื้อได้ที่ http://goodproducts.myreadyweb.com/product/detail-19255.html
http://goodproduct.net/product/detail-45236.html


หรือโทรสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ 0879393689,0840068422
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 

ตรวจสอบสถานะ การจัดส่งของที่สั่ง ทางไปรษณีย์ แบบพัสดุ ลงทะเบียน และ EMS http://track.thailandpost.co.th/