สถิติ
เปิดเมื่อ19/10/2011
อัพเดท2/06/2023
ผู้เข้าชม5283942
แสดงหน้า7481153
สินค้า
บทความ
ทางเดินอาหาร
16 วิธีป้องกันท้องอืด จากโรคกรดไหลย้อนกลับ (GERD)
ภาวะกรดไหลย้อน
นม GTF
โรคลึกลับ CFS (Chronic fatigue syndrome หรือโรคอ่อนเพลียเรื้อรัง ) ยาแก้และวิธีแก้
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 4)
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ(ตอนที่ 3)
อันเนื่องมากจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 2)
อันเนื่องมาจากความหวาน ระวัง! อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุอย่านึกว่าเป็นเรื่องเล็ก(ตอนที่ 1)
การอนุญาตและการจดทะเบียนในประเะทศต่างๆ
สิทธิบัตรของนม GTF
สิทธิบัตรของนม GTF
นม GTF กับรูปร่างและผิวพรรณ
โรงพยาบาลที่ใช้ ผลิตภัณฑ์ GTF
รางวัลต่างๆ ของนม GTF
การวิจัยและพัฒนานม GTF
ทำไมคนรุ่นใหม่...ขาดสารอาหาร
คำแนะนำการบริโภคนม GTF
รายละเอียดนม GTF
ประโยชน์ที่ได้รับจากนม GTF
VDO ประสบการณ์ผู้ใช้ GTF
VDO รายละเอียด GTF ตอนที่ 1-5
นม GT&F ช่วยให้คุณควบคุมโรคเบาหวาน ได้อย่างไร..
ทำไมต้องนม GTF
มะเร็ง
ถั่วเหลืองกับมะเร็งเต้านม
การฟื้นฟูร่างกายหลังได้รับเคมีบำบัด
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 3
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 2
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 1
วิธีป้องกันการติดเชื้อระหว่างเคมีบำบัด
แอสตาแซนธิน (Astaxanthin)
สารอนุมูลอิสระ (Free Radicals) คืออะไร?
แอสตาแซนธิน : การลดความเมื่อยล้าของดวงตา
แอสตาแซนธิน : ความทนทานและการฟื้นตัวของกล้ามเนื้อ
แอสตาแซนธิน : สารต้านอนุมูลอิสระที่เหนือกว่า
“Astaxanthin” คืออะไร?
ผิวหนัง
ตำแหน่งสิวบอกอารมณ์และโรคได้
วิธีปราบสิว
โรคสะเก็ดเงินหรือโรคเรื้อนกวาง ( Psoriasis )
โรคผิวหนังอักเสบ (ECZEMA)
สิว และวิธีแก้ปัญหาเกี่ยวกับ สิว เบื้องต้น
บทความทั่วไป
10 ความจริงเกี่ยวกับตัวเรา... ที่คุณอาจไม่รู้
เคล็ดลับในการกินอาหารเสริม
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
5 ผลวิจัย พิชิตความเครียด
10 การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ที่บ่งบอกว่าคุณกำลังเป็นโรค…
พลังงานแม่เหล็กบำบัดโรค
เตือน “กินน้ำตาลเกินจำเป็น” โอกาสเกิดโรคแทรกง่ายขึ้น
18 สาเหตุ ทำให้ไม่มีเรี่ยวแรง + อ่อนเพลีย
การเสียชีวิตของนักกีฬาในสนามแข่งขัน
รู้ได้อย่างไรว่า...อ้วนลงพุง หรือ เป็น Metabolic syndrome
ไม่ขับถ่ายตอนเช้าจะเกิดอะไรขึ้น
การเลือกรับประทานอาหารเสริม วิตามิน และเกลือแร่
อาหารเสริม Co-Enzyme Q10 โคเอ็นไซม์ คิวเท็น คืออะไร
วิธีป้องกัน อาการภูมิแพ้
กินยาแก้อักเสบ (ยาปฏิชีวนะ) บ่อยๆ ทำให้เชื้อโรคดื้อยา รักษาไม่หาย
แครนเบอรรี่ Cranberry
การกอด มหัศจรรย์แห่งสัมผัส
โรคภูมิแพ้
อันตรายจากบุหรี่ และตัวช่วยล้างพิษจากบุหรี่
วิธีการดื่มน้ำที่ถูกวิธี
Bell Stem Cell Activator, 60 caps
เมลาโตนิน (Melatonin)
นาฬิกาชีวภาพ นาฬิกาชีวิต
กรดอะมิโนจำเป็น 9 ชนิด ที่ร่างกายสร้างขึ้นเองไม่ได้
อาหารธัญพืชปรุงพิเศษ
เบาหวาน
เรื่องหวานๆ กับยาเบาหวาน
ความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยเบาหวาน
ภัยเงียบ....โรคหัวใจในผู้เป็นเบาหวาน
เลือดหนืดในโรคเบาหวาน
เลือดข้นกับโรคหัวใจ
เบาหวาน
การควบคุมอาหารในผู้ป่วยเบาหวาน
ทางเดินปัสสาวะ
Share โรคไตวายเรื้อรัง Chronic renal failure (CRF)
สาเหตุของโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis) อาการของโรค และวิธีรักษา
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ Urinary tract infections (UTI)
สมองและระบบประสาท
โคลีน
โคลีน ไบทาร์เทรต (Choline Bitartrate)
ใบบัวบก (Gotu Kola)
DMEA
cavinton หรือ vinpocetine
Neuro-ps บำรุงสมอง เพิ่มความจำ ลดความเครียด ช่วยเรื่องการนอนหลับ
ถาม-ตอบ เกี่ยวกับการใช้ Neuro-PS
Neuro-PS บำรุงสมอง,เสริมความจำ ลดความเครียด
บทความจากต่างประเทศ
How To Decrease Inflammation‏
Alzheimer’s on the Rise: What You Can Do
ปฎิทิน
June 2023
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
    
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
 
สมาชิก

สมัครสมาชิก | ลืมรหัสผ่าน

วิธีป้องกัน อาการภูมิแพ้

อ่าน 8848 | ตอบ 3
วิธีป้องกัน อาการภูมิแพ้
เหลียวไปเห็นใครต่อใครหลายคน เดี๋ยวก็ไอ ค่อกแค่ก ไอกระด๊อกกระแด๊ก หรือไม่ก็รู้สึกคันจมูกแล้วก็จามออกมาบ่อยๆ บางทีมีน้ำมูกไหล บางครั้งมีผื่นขึ้นที่ผิวหนัง เอาละวาอาการแบบนี้เป็นสัญญาณบอกได้ว่า ใครคนนั้นอาจเป็นโรคภูมิแพ้ก็ได้นะ แล้วภูมิแพ้นี่ก็เป็นโรคที่ฮอตฮิตซะด้วย แม้ไม่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต แต่พอเป็นแล้วจะทำให้ไม่สบายเนื้อสบายตัว อย่างบางคนแพ้ฝุ่น แพ้ควันบุหรี่ หรือแพ้ไอเสียจากรถยนต์ ก็อาจไอ, จาม, ตาแดง หรือ บางทีน้ำหูน้ำตาไหลเลยก็ได้
อาการของภูมิแพ้นั้นมีหลายแบบ คือ เป็นทั้งปีก็ได้, เป็นเฉพาะฤดูกาลก็มี หรือ ไม่งั้นอาจเป็นทั้ง 2 แบบผสมกัน แถมใครที่เป็นภูมิแพ้ก็อาจมีโรคอื่นร่วมด้วย เช่น โรคผิวหนังอักเสบ,โรคหอบหืด เป็นต้น หากไม่ควบคุมอาการของภูมิแพ้ไว้ ก็มีสิทธิ์ทำให้หอบหืดหรือผิวหนังอักเสบกำเริบได้
บางท่านที่ทราบว่าตัวเองแพ้อะไร แล้วพยายามหลีกเลี่ยงไม่ไปสัมผัสกับสิ่งนั้น ถือว่าโชคดีไป ทว่ามีคนจำนวนมากทีเดียวที่ไม่ทราบว่าตัวเองแพ้อะไร เพราะรู้สึกจะแพ้ไปซะทุกอย่าง เช่น แพ้ใจ ตัวเอง...เอ๊ย แหมนอกเรื่องจนได้ ดังนั้นโรงพยาบาลวิภาวดี จึงได้แนะนำวิธีปฏิบัติตัวสำหรับผู้ป่วยภูมิแพ้ ดังนี้
1.ไม่ควรนำตุ๊กตาที่ยัดไส้ด้วยนุ่น หรือใยสัตว์ไว้ในห้องนอน
2. ห่อหุ้มหมอนและฟูกใช้ผ้าพลาสติกแล้วปูทับด้วยผ้าฝ้ายเพื่อป้องกันตัวไรไม่ให้มาสัมผัสกับตัวของคุณ
3.อย่าตากเสื้อผ้าและเครื่องนอนเช่น ผ้าปูที่นอน, ปลอกหมอน ไว้กับราวตากผ้ากลางแจ้งในฤดูที่เกสรดอกไม้ปลิวว่อนในอากาศ เพราะเกสรดอกไม้และเชื้อราจะเกาะติดกับผ้าที่ตากได้
4.ใช้เครื่องปรับความชื้นในห้องที่อับชื้นมากๆ (ถ้าห้องไหนไม่อับก็ไม่ต้องใช้ก็ได้) เพื่อลดจำนวนเชื้อรา
5.ล้างมือทันที หากไปเล่นกับสัตว์เลี้ยงหรือให้อาหารแก่มัน
6.เลิกใช้พรมปูพื้นห้อง แล้วเปลี่ยนพื้นห้องให้เป็นไม้ซะ หรือใช้กระเบื้องก็ได้ เพราะสามารถทำความสะอาดได้ง่ายกว่า
7. เปลี่ยนเครื่องเรือนที่บุด้วยนุ่น หรือตกแต่งด้วยขนสัตว์ มาเป็นเครื่อง เรือนที่ทำจากพลาสติก, ไม้, โลหะ หรือหนังสัตว์ ซึ่งจะไม่กักสิ่งที่อาจทำให้คุณแพ้
8. ในการทำความสะอาดบ้าน อย่าใช้ไม้ขนไก่หรือไม้กวาด ให้ใช้ผ้าหรือไม้ถูพื้นที่ชุบน้ำแทน
9. สวมผ้า ปิดปากและจมูกเสมอ เพื่อกันฝุ่นในขณะที่ทำความสะอาดบ้าน
10.อย่ารีบเข้าไปในห้องที่เพิ่งทำความสะอาดเสร็จใหม่ๆ ควรรออย่างน้อย 20นาทีเพื่อให้ฝุ่นผงที่ล่องลอยอยู่ในอากาศตกลงสู่พื้นให้หมดซะก่อน
11.ห้ามทุกคนรวมทั้งแขกสูบบุหรี่ในบ้าน หากจะสูบให้สูบนอกบ้าน
12.หลีกเลี่ยงการใช้พัดลม เพราะจะพัดเอาเกสรดอกไม้ และเชื้อราเข้ามาในบ้าน รวมทั้งไม่ ควรใช้เครื่องทำความเย็นชนิดอังน้ำ เพราะจะทำให้ห้องชื้น
13.พกบัตรที่แสดงข้อความว่า คุณเป็นโรคภูมิแพ้ หรือโรคหอบหืดอย่างรุนแรงไว้เสมอ ในกรณีที่เป็นอย่างนั้นอ่ะนะ
14. หากต้องการขับรถท่องเที่ยวก็ควรทำความสะอาดเครื่องปรับอากาศภายในรถเสียก่อน เพื่อกำจัดเชื้อราที่แอบซ่อนอยู่ แนะเพียงแค่นี้ทำกันได้อยู่แล้ว
ที่มา: หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ

รักษาโรคภูมิแพ้ด้วยสารสกัดจากธรรมชาติ
ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ 
http://goodproduct.net/product/detail-45067.html
หรือโทรสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ 0879393689,0840068422
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 

ตรวจสอบสถานะ การจัดส่งของที่สั่ง ทางไปรษณีย์ แบบพัสดุ ลงทะเบียน และ EMS http://track.thailandpost.co.th/