สถิติ
เปิดเมื่อ19/10/2011
อัพเดท15/03/2024
ผู้เข้าชม5514573
แสดงหน้า7744937
สินค้า
บทความ
ทางเดินอาหาร
16 วิธีป้องกันท้องอืด จากโรคกรดไหลย้อนกลับ (GERD)
ภาวะกรดไหลย้อน
นม GTF
โรคลึกลับ CFS (Chronic fatigue syndrome หรือโรคอ่อนเพลียเรื้อรัง ) ยาแก้และวิธีแก้
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 4)
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ(ตอนที่ 3)
อันเนื่องมากจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 2)
อันเนื่องมาจากความหวาน ระวัง! อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุอย่านึกว่าเป็นเรื่องเล็ก(ตอนที่ 1)
การอนุญาตและการจดทะเบียนในประเะทศต่างๆ
สิทธิบัตรของนม GTF
สิทธิบัตรของนม GTF
นม GTF กับรูปร่างและผิวพรรณ
โรงพยาบาลที่ใช้ ผลิตภัณฑ์ GTF
รางวัลต่างๆ ของนม GTF
การวิจัยและพัฒนานม GTF
ทำไมคนรุ่นใหม่...ขาดสารอาหาร
คำแนะนำการบริโภคนม GTF
รายละเอียดนม GTF
ประโยชน์ที่ได้รับจากนม GTF
VDO ประสบการณ์ผู้ใช้ GTF
VDO รายละเอียด GTF ตอนที่ 1-5
นม GT&F ช่วยให้คุณควบคุมโรคเบาหวาน ได้อย่างไร..
ทำไมต้องนม GTF
มะเร็ง
ถั่วเหลืองกับมะเร็งเต้านม
การฟื้นฟูร่างกายหลังได้รับเคมีบำบัด
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 3
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 2
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 1
วิธีป้องกันการติดเชื้อระหว่างเคมีบำบัด
แอสตาแซนธิน (Astaxanthin)
สารอนุมูลอิสระ (Free Radicals) คืออะไร?
แอสตาแซนธิน : การลดความเมื่อยล้าของดวงตา
แอสตาแซนธิน : ความทนทานและการฟื้นตัวของกล้ามเนื้อ
แอสตาแซนธิน : สารต้านอนุมูลอิสระที่เหนือกว่า
“Astaxanthin” คืออะไร?
ผิวหนัง
ตำแหน่งสิวบอกอารมณ์และโรคได้
วิธีปราบสิว
โรคสะเก็ดเงินหรือโรคเรื้อนกวาง ( Psoriasis )
โรคผิวหนังอักเสบ (ECZEMA)
สิว และวิธีแก้ปัญหาเกี่ยวกับ สิว เบื้องต้น
บทความทั่วไป
10 ความจริงเกี่ยวกับตัวเรา... ที่คุณอาจไม่รู้
เคล็ดลับในการกินอาหารเสริม
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
5 ผลวิจัย พิชิตความเครียด
10 การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ที่บ่งบอกว่าคุณกำลังเป็นโรค…
พลังงานแม่เหล็กบำบัดโรค
เตือน “กินน้ำตาลเกินจำเป็น” โอกาสเกิดโรคแทรกง่ายขึ้น
18 สาเหตุ ทำให้ไม่มีเรี่ยวแรง + อ่อนเพลีย
การเสียชีวิตของนักกีฬาในสนามแข่งขัน
รู้ได้อย่างไรว่า...อ้วนลงพุง หรือ เป็น Metabolic syndrome
ไม่ขับถ่ายตอนเช้าจะเกิดอะไรขึ้น
การเลือกรับประทานอาหารเสริม วิตามิน และเกลือแร่
อาหารเสริม Co-Enzyme Q10 โคเอ็นไซม์ คิวเท็น คืออะไร
วิธีป้องกัน อาการภูมิแพ้
กินยาแก้อักเสบ (ยาปฏิชีวนะ) บ่อยๆ ทำให้เชื้อโรคดื้อยา รักษาไม่หาย
แครนเบอรรี่ Cranberry
การกอด มหัศจรรย์แห่งสัมผัส
โรคภูมิแพ้
อันตรายจากบุหรี่ และตัวช่วยล้างพิษจากบุหรี่
วิธีการดื่มน้ำที่ถูกวิธี
Bell Stem Cell Activator, 60 caps
เมลาโตนิน (Melatonin)
นาฬิกาชีวภาพ นาฬิกาชีวิต
กรดอะมิโนจำเป็น 9 ชนิด ที่ร่างกายสร้างขึ้นเองไม่ได้
อาหารธัญพืชปรุงพิเศษ
เบาหวาน
เรื่องหวานๆ กับยาเบาหวาน
ความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยเบาหวาน
ภัยเงียบ....โรคหัวใจในผู้เป็นเบาหวาน
เลือดหนืดในโรคเบาหวาน
เลือดข้นกับโรคหัวใจ
เบาหวาน
การควบคุมอาหารในผู้ป่วยเบาหวาน
ทางเดินปัสสาวะ
Share โรคไตวายเรื้อรัง Chronic renal failure (CRF)
สาเหตุของโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis) อาการของโรค และวิธีรักษา
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ Urinary tract infections (UTI)
สมองและระบบประสาท
โคลีน
โคลีน ไบทาร์เทรต (Choline Bitartrate)
ใบบัวบก (Gotu Kola)
DMEA
cavinton หรือ vinpocetine
Neuro-ps บำรุงสมอง เพิ่มความจำ ลดความเครียด ช่วยเรื่องการนอนหลับ
ถาม-ตอบ เกี่ยวกับการใช้ Neuro-PS
Neuro-PS บำรุงสมอง,เสริมความจำ ลดความเครียด
บทความจากต่างประเทศ
How To Decrease Inflammation‏
Alzheimer’s on the Rise: What You Can Do
ปฎิทิน
March 2024
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
     
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
      
สมาชิก

สมัครสมาชิก | ลืมรหัสผ่าน

ถั่วเหลืองกับมะเร็งเต้านม

อ่าน 14776 | ตอบ 1
 


 

Topic :  ถั่วเหลืองกับมะเร็งเต้านม



ถั่วเหลืองกับมะเร็งเต้านม

        มะเร็งเต้านมมีสาเหตุหนึ่งที่สำคัญ คือ การได้รับฮอร์โมนเพศกระตุ้นตัวรับอย่างมากเกินปกติ โดยสารที่ได้จากธรรมชาติที่สามารถกระตุ้นตัวรับเอสโตรเจน (Estrogen) ได้เช่นเดียวกับฮอร์โมนในร่างกาย คือ ไอโซฟลาโวนส์ (Isoflavones) เป็นกลุ่มของโมเลกุลที่มีโครงสร้างที่ใกล้เคียงกัน โดยไอโซฟลาโวนส์จะถูกสร้างขึ้นในพืชในตระกูลถั่ว อาหารที่อุดมไปด้วยปริมาณของไอโซฟลาโวนส์ ได้แก่ ถั่วเหลือง (soy), ถั่วลิสง (peanuts), ถั่วลูกไก่ (chick peas), ถั่วแอลฟาลฟา (alfalfa), ถั่วปากอ้า (fava beans) และถั่วคุดสุ (kudzu) นอกจากพวกถั่วแล้ว ยังพบได้ในพืชพวก แบล็ค โคฮอส์ (black cohosh) และ ฮอพ (hops) แต่ที่พบได้มากในบ้านเราเห็นจะเป็นพวกถั่วเหลือง นอกจากนี้ยังสามารถพบไอโซฟลาโวนส์ในพืชที่มีชื่อว่า red clover  ซึ่งเรามักไม่ทาน red clover เป็นอาหาร แต่มีการใช้ในอุตสาหกรรมมากกว่า เพื่อสกัดไอโซฟลาโวนส์มาใช้เป็นอาหารเสริม

 

 

คุณสมบัติของไอโซฟลาโวนส์และผลต่อร่างกาย


1. เป็นฮอร์โมนจากธรรมชาติที่ได้จากพืช
       ด้วยโครงสร้างที่ใกล้เคียงกันกับฮอร์โมนเอสโตรเจนในร่างกาย  ทำให้ไอโซฟลาโวนส์มีคุณสมบัติคล้ายเอสโตรเจน    แต่มีความแรงน้อยกว่าเอสโตรเจนถึง 400 เท่า  ด้วยฤทธิ์ที่คล้ายเอสโตรเจนนี้  ทำให้นักวิจัยบางส่วนเชื่อว่าไอโซฟลาโวนส์อาจช่วยในเรื่องของการป้องกันมะเร็ง, โรคหัวใจบางชนิด และโรคกระดูกพรุน (osteoporosis) ได้   

 

2.  เป็นสารแอนตี้ออกซิแดนท์ตามธรรมชาติ  
       นอกจากไอโซฟลาโวนส์จะมีคุณสมบัติของเอสโตรเจนแล้ว ยังพบคุณสมบัติในการเป็นสารแอนตี้ออกซิแดนท์ อีกด้วย โดยไอโซฟลาโวนส์เป็นหนึ่งในสารที่อยู่ในกลุ่มของฟลาวานอยด์ ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นสารแอนตี้ออกซิแดนท์  ที่ใช้ในการสะเทินพิษของอนุมูลอิสระ  จึงมีผู้พยายามอธิบายกลไกการป้องกันมะเร็ง โดยอาศัยทฤษฏีที่เกี่ยวกับการต้านอนุมูลอิสระแทนการอธิบายโดยใช้กลไกของการแย่งจับกับตัวรับของเอสโตรเจน โดยมีการวิจัยพบว่าไอโซฟลาโวนส์มีคุณสมบัติของการเป็นสารแอนตี้ออกซิแดนท์ได้ดีพอๆ กับพวกวิตามินอี  จึงสามารถป้องกันการที่ดีเอ็นเอจะถูกทำลายโดยอนุมูลอิสระ ส่งผลให้ไอโซฟลาโวนส์ สามารถลดความเสี่ยงในการเกิดมะเร็ง

 

 

 

 

แหล่งและปริมาณไอโซฟลาโวนส์
       เราสามารถพบไอโซฟลาโวนส์ได้ในอาหารหลายชนิด แหล่งที่พบว่ามีปริมาณของไอโซฟลาโวนส์สูงสุด ได้แก่ ในถั่วเหลือง และในเทมเป้ (tempeh) ซึ่งเป็นอาหารพื้นเมืองประเทศอินโดนีเซีย ทำจากถั่วเหลืองหมัก แต่ที่รู้จักกันมากที่สุดก็คือ การได้จากถั่วเหลือง จึงมีผู้มักเรียกว่า Soy Isoflavones

 

 

 

ประโยชน์ของไอโซฟลาโวนส์และงานวิจัยที่สนับสนุน

ป้องกันมะเร็ง
        มีการศึกษาในเชิงระบาดวิทยาหลายการวิจัย ที่แสดงถึงความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญของอุบัติการณ์การเกิดมะเร็งในกลุ่มคนต่างเชื้อชาติ  โดยพบว่าการเกิดมะเร็งเต้านม และมะเร็งต่อมลูกหมากจะมีอุบัติการณ์ที่สูงกว่ามากในประเทศแถบอเมริกา และ ยุโรป เมื่อเทียบกับประเทศในแถบเอเซีย เช่น จีน หรือ ญี่ปุ่น  ซึ่งเชื่อว่า ส่วนหนึ่งมาจากพฤติกรรมการกินอาหารที่แตกต่างกัน โดยพบว่า คนจีนและญี่ปุ่นมักรับประทานอาหารที่ทำมาจากถั่วเหลือง  ซึ่งในถั่วเหลืองจะมีสารในกลุ่มไอโซฟลาโวนส์ที่สามารถไปลดการเกิดมะเร็งทั้งสองชนิดดังกล่าวได้  ในขณะที่ในญี่ปุ่นจะมีสถิติการตายจากมะเร็งเต้านมน้อยกว่าในอเมริกาถึง 4 เท่า  

        สารที่สำคัญและมีมากในกลุ่มไอโซฟลาโวนส์ ก็คือ Genistein ซึ่งมีการวิจัยหลายการวิจัยที่สนับสนุนว่า สารGenistein สามารถไปลดการเกิดมะเร็งทั้งในสัตว์ทดลองและในคนได้  สาร Genistein รู้จักกันในนามของ “เอสโตรเจนที่ได้จากพืช” (Phytoestrogen) และมีคุณสมบัติในการเป็นสารแอนตี้ออกซิแดนท์  ด้วยคุณสมบัติดังกล่าวทำให้ genistein ถูกนำมาใช้ในการป้องกัน และรักษามะเร็ง  

        นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยที่พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญระหว่างการได้รับไอโซฟลาโวนส์และการลดความเสี่ยงจากมะเร็งเต้านม และมะเร็งเยื่อบุมดลูก (Endometrial Cancer) โดยพบว่า ผู้หญิงในกลุ่มที่รับประทานผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลืองจะสามารถลดความเสี่ยงจากการเกิดมะเร็งเยื่อบุมดลูกถึง 54%  และอีกการวิจัย พบว่าไอโซฟลาโวนส์ยังแสดงฤทธิ์ในการขัดขวางการเติบโตของเส้นเลือดใหม่ในตัวเนื้องอก (Angiogenesis) ซึ่งการเจริญเติบโตของเนื้องอกนั้น จำเป็นต้องมีเส้นเลือดมาเลี้ยง และพบว่า genistein ซึ่งเป็นไอโซฟลาโวนส์ตัวหนึ่งจะทำหน้าที่ในการไปกีดขวางขบวนการดังกล่าว 

 

 

 

 

จาก     http://www.feidathai.com
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 

ตรวจสอบสถานะ การจัดส่งของที่สั่ง ทางไปรษณีย์ แบบพัสดุ ลงทะเบียน และ EMS http://track.thailandpost.co.th/