สถิติ
เปิดเมื่อ19/10/2011
อัพเดท17/03/2024
ผู้เข้าชม5516228
แสดงหน้า7746709
สินค้า
บทความ
ทางเดินอาหาร
16 วิธีป้องกันท้องอืด จากโรคกรดไหลย้อนกลับ (GERD)
ภาวะกรดไหลย้อน
นม GTF
โรคลึกลับ CFS (Chronic fatigue syndrome หรือโรคอ่อนเพลียเรื้อรัง ) ยาแก้และวิธีแก้
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 4)
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ(ตอนที่ 3)
อันเนื่องมากจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 2)
อันเนื่องมาจากความหวาน ระวัง! อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุอย่านึกว่าเป็นเรื่องเล็ก(ตอนที่ 1)
การอนุญาตและการจดทะเบียนในประเะทศต่างๆ
สิทธิบัตรของนม GTF
สิทธิบัตรของนม GTF
นม GTF กับรูปร่างและผิวพรรณ
โรงพยาบาลที่ใช้ ผลิตภัณฑ์ GTF
รางวัลต่างๆ ของนม GTF
การวิจัยและพัฒนานม GTF
ทำไมคนรุ่นใหม่...ขาดสารอาหาร
คำแนะนำการบริโภคนม GTF
รายละเอียดนม GTF
ประโยชน์ที่ได้รับจากนม GTF
VDO ประสบการณ์ผู้ใช้ GTF
VDO รายละเอียด GTF ตอนที่ 1-5
นม GT&F ช่วยให้คุณควบคุมโรคเบาหวาน ได้อย่างไร..
ทำไมต้องนม GTF
มะเร็ง
ถั่วเหลืองกับมะเร็งเต้านม
การฟื้นฟูร่างกายหลังได้รับเคมีบำบัด
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 3
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 2
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 1
วิธีป้องกันการติดเชื้อระหว่างเคมีบำบัด
แอสตาแซนธิน (Astaxanthin)
สารอนุมูลอิสระ (Free Radicals) คืออะไร?
แอสตาแซนธิน : การลดความเมื่อยล้าของดวงตา
แอสตาแซนธิน : ความทนทานและการฟื้นตัวของกล้ามเนื้อ
แอสตาแซนธิน : สารต้านอนุมูลอิสระที่เหนือกว่า
“Astaxanthin” คืออะไร?
ผิวหนัง
ตำแหน่งสิวบอกอารมณ์และโรคได้
วิธีปราบสิว
โรคสะเก็ดเงินหรือโรคเรื้อนกวาง ( Psoriasis )
โรคผิวหนังอักเสบ (ECZEMA)
สิว และวิธีแก้ปัญหาเกี่ยวกับ สิว เบื้องต้น
บทความทั่วไป
10 ความจริงเกี่ยวกับตัวเรา... ที่คุณอาจไม่รู้
เคล็ดลับในการกินอาหารเสริม
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
5 ผลวิจัย พิชิตความเครียด
10 การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ที่บ่งบอกว่าคุณกำลังเป็นโรค…
พลังงานแม่เหล็กบำบัดโรค
เตือน “กินน้ำตาลเกินจำเป็น” โอกาสเกิดโรคแทรกง่ายขึ้น
18 สาเหตุ ทำให้ไม่มีเรี่ยวแรง + อ่อนเพลีย
การเสียชีวิตของนักกีฬาในสนามแข่งขัน
รู้ได้อย่างไรว่า...อ้วนลงพุง หรือ เป็น Metabolic syndrome
ไม่ขับถ่ายตอนเช้าจะเกิดอะไรขึ้น
การเลือกรับประทานอาหารเสริม วิตามิน และเกลือแร่
อาหารเสริม Co-Enzyme Q10 โคเอ็นไซม์ คิวเท็น คืออะไร
วิธีป้องกัน อาการภูมิแพ้
กินยาแก้อักเสบ (ยาปฏิชีวนะ) บ่อยๆ ทำให้เชื้อโรคดื้อยา รักษาไม่หาย
แครนเบอรรี่ Cranberry
การกอด มหัศจรรย์แห่งสัมผัส
โรคภูมิแพ้
อันตรายจากบุหรี่ และตัวช่วยล้างพิษจากบุหรี่
วิธีการดื่มน้ำที่ถูกวิธี
Bell Stem Cell Activator, 60 caps
เมลาโตนิน (Melatonin)
นาฬิกาชีวภาพ นาฬิกาชีวิต
กรดอะมิโนจำเป็น 9 ชนิด ที่ร่างกายสร้างขึ้นเองไม่ได้
อาหารธัญพืชปรุงพิเศษ
เบาหวาน
เรื่องหวานๆ กับยาเบาหวาน
ความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยเบาหวาน
ภัยเงียบ....โรคหัวใจในผู้เป็นเบาหวาน
เลือดหนืดในโรคเบาหวาน
เลือดข้นกับโรคหัวใจ
เบาหวาน
การควบคุมอาหารในผู้ป่วยเบาหวาน
ทางเดินปัสสาวะ
Share โรคไตวายเรื้อรัง Chronic renal failure (CRF)
สาเหตุของโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis) อาการของโรค และวิธีรักษา
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ Urinary tract infections (UTI)
สมองและระบบประสาท
โคลีน
โคลีน ไบทาร์เทรต (Choline Bitartrate)
ใบบัวบก (Gotu Kola)
DMEA
cavinton หรือ vinpocetine
Neuro-ps บำรุงสมอง เพิ่มความจำ ลดความเครียด ช่วยเรื่องการนอนหลับ
ถาม-ตอบ เกี่ยวกับการใช้ Neuro-PS
Neuro-PS บำรุงสมอง,เสริมความจำ ลดความเครียด
บทความจากต่างประเทศ
How To Decrease Inflammation‏
Alzheimer’s on the Rise: What You Can Do
ปฎิทิน
March 2024
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
     
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
      
สมาชิก

สมัครสมาชิก | ลืมรหัสผ่าน

ภาวะกรดไหลย้อน

อ่าน 15573 | ตอบ 2
ภาวะกรดไหลย้อน

                คุณเคยรู้สึกเจ็บแสบแถวหน้าอกมั้ย โดยเฉพาะหลังกินอาหาร หรือขณะนอน  ทั้งหมดนี้ไม่ใช่ความผิดปกติที่เกิดกับระบบหัวใจและหลอดเลือด แต่เกิดจากกรดในกระเพาะอาหารไหลย้อนขึ้นมาบริเวณหน้าอกและคอหอย   กว่า3 ใน 4 ของผู้ป่วยภาวะนี้จะมีอาการส่วนใหญ่ในขณะนอนตอนกลางคืน ทำให้ผู้ป่วยทรมานได้ไม่น้อยกว่าอาการปวดแน่นหน้าอกที่เกิดจากโรคหัวใจเลยทีเดียว   แต่ทั้งนี้อาการที่ปวดรุนแรงไม่ได้หมายถึงความรุนแรงของโรค หรืออันตรายที่เกิดขึ้นมากขึ้นด้วย  นอกจากอาการหลักๆดังกล่าวแล้ว อาจพบอาการบางอย่างร่วมกัน เช่น รู้สึกแน่นท้อง วิงเวียน อยากอาเจียนหลังจากกินอาหาร รู้สึกเหมือนมีอะไรค้างอยู่ในลำคอและอยากจะเอาออกมา  เจ็บคอมาก ไอแห้งๆ     
                ก่อนที่จะพูดถึงสาเหตุหรือกลไกของภาวะกรดไหลย้อนกลับ  ขออธิบายคร่าวๆถึงสรีระตั้งแต่ช่องปากลงไปถึงลำไส้  เมื่อเรารับประทานอาหารเข้าไป อาหารจะผ่านช่องปากลงไปที่หลอดอาหารซึ่งเป็นท่อตรง ลงไปยังกระเพาะอาหารซึ่งมีสภาพเป็นกรด ( กระเพาะอาหารจะทำหน้าที่ย่อยอาหารพวกโปรตีนหรือเนื้อสัตว์) ทั้งนี้ที่ปลายหลอดอาหารที่เชื่อมต่อกับกระเพาะอาหาร จะมีลักษณะเป็นหูรูด   หลังจากนั้นอาหารก็จะผ่านไปยังลำไส้เล็กซึ่งมีลักษณะเป็นท่อกลวงยาวซึ่งขดกันอยู่ในช่องท้องเพื่อย่อยอาหารอีกครั้ง แล้วอาหารที่ย่อยเสร็จจึงเดินทางไปยังลำไส้ใหญ่เพื่อดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย     สำหรับภาวะกรดไหลย้อนกลับแล้ว กรดจะไหลย้อนกลับขึ้นมาจากกระเพาะไปยังหลอดอาหาร และในบางครั้งก็ผ่านมายังช่องปาก ซึ่งสวนทางกับทิศทางของอาหารเมื่อเรารับประทาน                     
        สาเหตุของภาวะกรดไหลย้อนกลับ
1.    กล้ามเนื้อหูรูดบริเวณตอนท้ายของหลอดอาหารทำงานผิดปกติ  ทำให้กรดไหลย้อนกลับจากกระเพาะขึ้นไปที่หลอดอาหาร  
2.    กล้ามเนื้อของกระเพาะอาหารบีบตัวช้ากว่าปกติ ทำให้อาหารเคลื่อนตัวช้ากว่าปกติ ดังนั้นกรดจึงมีโอกาสที่จะไหลย้อนขึ้นมาจากกระเพาะมากกว่าปกติ
3.    หอบหืด กว่าครึ่งหนึ่งของผู้ที่เป็นหอบหืดมักมีภาวะกรดไหลย้อนกลับ  เนื่องจากอาการไอหรือจามในขณะที่เป็นหอบหืดนั้นจะทำให้ความดันบริเวณช่องอกเปลี่ยนไป กระตุ้นให้กรดไหลย้อนกลับได้ง่าย
การรักษาโดยการกินยาช่วยลดกรดในกระเพาะนั้นไม่ไช่วิธีที่ถูกต้องเพราะเมื่อกรดในกระเพาะลดลง ย่อมกระทบต่อประสิทธิภาพในการย่อยอาหาร  ยาpropulsid เป็นยาที่เคยใช้รักษาภาวะกรดไหลย้อน แต่ปัจจุบันเลิกใช้แล้วเนื่องจากเป็นอันตราย ถึงขั้นเสียชีวิต  ดังนั้นวิธีทางธรรมชาติจึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่ปลอดภัยกว่า

     ภาวะกรดไหลย้อนกับวิธีธรรมชาติ

1.    กระเทียม เนื่องจากกระเทียมมีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่เป็นอันตราย เช่น  เชื้อ H. Pyloris ที่แม้แต่กรดในกระเพาะอาหารก็ไม่สามารถทำลายเชื้อชนิดนี้ได้ และกระเทียมยังช่วยปรับสมดุลของเชื้อแบคทีเรียจำเป็นต่อร่างกายที่อาศัยอยู่ในลำไส้อีกด้วย  แต่ทั้งนี้กระเทียมที่กินต้องเป็นกระเทียมที่ผ่านการบด หรือตำ หรือเคี้ยวให้ละเอียดก่อนกลืน ไม่ใช่การกลืนทั้งกลีบ เพื่อให้สารอัลลิซินในกระเทียมสามารถสัมผัสกับทางเดินอาหารโดยตรง (คุณสามารถผสมกระเทียมลงไปคั้นพร้อมกับน้ำผัก-ผลไม้อย่างอื่นก็ได้)
2.    ควรกินอาหารประเภทprobiotic (ซึ่งหมายถึงอาหารที่มีจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย และจุลินทรีย์เหล่านั้นยังมีชีวิต ได้แก่ โยเกิร์ต คีเฟอร์ เป็นต้น) เป็นประจำ
3.    ควรดื่มน้ำให้เพียงพอเพื่อช่วยลดความเข้มข้นของกรด  สังเกตได้จากสีของปัสสาวะจะเป็นสีค่อนข้างใส ไม่เป็นเป็นสีเหลืองเข้ม
4.    การวิจัยพบว่าการดื่มชาคาร์โมมายด์สามารถลดอาการของภาวะกรดไหลย้อนได้ แต่ยังไม่สามารถอธิบายกลไกที่ชัดเจนได้
5.    งดสูบบุหรี่ เพราะการสูบบุหรี่จะทำให้กล้ามเนื้อหูรูดเหนือกระเพาะคลายตัว กรดจึงโอกาสไหลย้อนกลับมากขึ้น
6.    หลีกเลี่ยงการดื่มการดื่มสุรา เนื่องจากเป็นการกระตุ้นให้กระเพาะหลั่งกรดมากขึ้น
7.    อย่ากินอาหารตอนดึก โดยเฉพาะ 3 ชั่วโมงก่อนนอน เพราะทุกครั้งที่กินอาหาร กรดจะหลั่งออกมาจากกระเพาะเพิ่มขึ้น และเมื่อนอน จะเพิ่มความเสี่ยงให้กรดไหลย้อนกลับ  นอกจากนี้หลังกินอาหารเสร็จทุกครั้งไม่ควรเข้านอนทันที
8.    การนอนโดยศีรษะสูงขึ้น  จะช่วยลดความเสี่ยงของภาวะกรดไหลย้อนได้เนื่องจากแรงดึงดูดโลกจะดึงให้กรดจากกระเพาะไม่ให้ไหลขึ้นมา
9.    ในรายที่มีน้ำหนักเกินหรือคนอ้วน จะมีโอกาสที่จะเกิดกรดไหลย้อนกลับขณะนอนมากกว่าคนปกติ ดังนั้นการลดในน้ำหนักในผู้ที่ภาวะกรดไหลย้อนจะช่วยลดอาการต่างๆได้
                                                  
 
 จาก http://www.goodhealth.co.th/new_page_123.htm


นใจผลิตภัณฑ์ช่วยอาการกรดไหลย้อน ดูเพิ่มเติมได้ที่
http://goodproduct.net/product/detail-19255.html
http://goodproduct.net/product/detail-45065.html

ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 

ตรวจสอบสถานะ การจัดส่งของที่สั่ง ทางไปรษณีย์ แบบพัสดุ ลงทะเบียน และ EMS http://track.thailandpost.co.th/