ทำไมคนรุ่นใหม่...ขาดสารอาหาร
แหล่งสารอาหารหลักของมนุษย์มาจากอาหาร ตั้งแต่ศตวรรษที่ 20 ที่มีการขยายตัวของประชากรอย่างมาก ดังนั้นความต้องการอาหารจึงเพิ่มขึ้นอย่างมากเช่นกัน ในขณะที่ไร่ก็ยังมีการใช้ปลูกแล้วปลูกอีกไปเรื่อยๆ ปุ๋ยเคมีก็ถูกใช้เพื่อเพิ่มเพียงแค่ไนโตรเจน, ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมเท่านั้น ผลก็คือ trace elements ในดินก็จะหมดไป ดังนั้นพืชผลที่ปลูกด้วยดินดังกล่าวก็จะขาด trace elements ไปด้วย
นอกจากนี้ ความตึงเครียด การใช้ชีวิตที่ไม่เหมาะสม, การทำงานหนักเกินไป, การตั้งครรภ์, ความอ้วน, การแก่ก่อนวัย, การติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์, การผ่าตัดหรือโรคที่นำไปสู่การสูญเสีย GTF ในร่างกาย และถ้าร่างกายมีการขาด GTF เพิ่มขึ้น พบว่ามีประชาชนจำนวนมากที่ต้องทนทุกข์ทรมานจากโรคร้ายแรงต่างๆ
นารายัง ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคระบาดของสมาพันธ์ด้านโรคต่างๆ (CDC) ประเทศสหรัฐอเมริกา เตือนว่าถ้าเราไม่กินให้น้อยลงและออกกำลังกายเพิ่มขึ้น เด็กมากกว่า 1 ใน 3 ที่เกิดหลังจากปี 2000ในประเทศสหรัฐอเมริกา จะทนทุกข์ทรมานจากโรคเบาหวาน โดยเด็กชาวแอฟริกาและยุโรปมีโอกาสที่จะสูงขึ้นถึง 50% โดย WHO ประมาณไว้ว่าปี 2025 มีผู้ป่วยเบาหวานเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าของปริมาณ ณ ปัจจุบัน จาก 1,500 ล้านคน เป็น 3,000 ล้านคน จากงานวิจัยรายงานว่าสภาวิทยาศาสร์นานาชาติไต้หวัน ชี้ให้เห็นว่าสัดส่วนของเด็กชาวไต้หวันที่ต้องทนทุกข์ทรมานจากเบาหวานมี เพิ่มขึ้นอย่างมาก จากคำเตือนดังกล่าวจะเห็นได้ว่าคนสมัยใหม่ส่วนใหญ่ขาด GTF ไม่เพียงแต่คนรุ่นเก่าเท่านั้นแต่ยังรวมถึงเด็กวัยรุ่นด้วย ดังนั้นอยุของผู้ป่วยโรคเบาหวาน, ความดันเลือดสูง, โรคอ้วนและความเครียด จึงมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆ
ไตรวาเลนท์โครเมียมเป็น trace element ที่จำเป็นต่อร่างกาย และเป็นธาตุที่สำคัญของ GTF โดยอาหารเสริมโครเมียมในชีวิตประจำวันส่งผลทางบวกต่อเมตาบอลิซึมกลูโคสใน เลือด และจากการทดลองทางการแพทย์โดย Morris B.W. et al., ซึ่งทำการทดลองหาปริมาณไตรวาเลนท์โครเมียมในร่างกายเปรียบเทียบระหว่างคน สุขภาพดีและผู้ป่วยเบาหวาน พบว่าปริมาณโครเมียมในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานมีเพียง 40% ของคนมีสุขภาพดี ในขณะที่ปริมาณโครเมียมที่ถูกขับออกทางปัสสาวะสูงเท่ากับคนสุขภาพดี ซึ่งการสูญเสียไตรวาเลนท์โครเมียมผ่านทางปัสสาวะของผู้สูงอายุจะมีความ รุนแรงมากยิ่งขึ้น จากผลการทดลองชี้ให้เห็นว่ามีปัจจัยบางอย่างที่ทำให้ร่างกายมีการสูญเสียไตร วาเลนท์โครเมียมเพิ่มมากขึ้นผ่านทางปัสสาวะ สาเหตุมาจากความไม่สมดุลของระดับกลูโคสในเลือด จึงนำไปสู่อาการของโรคเบาหวาน ยิ่งไปกว่านั้น ความสามารถในการเก็บไตรวาเลนท์โครเมียมในร่างกายของผู้ป่วยเบาหวานก็จะลดลง ในระยะยาวจะส่งผลให้เกิดอาการป่วยและเบาหวาน
ปริมาณที่แนะนำให้บริโภคต่อวันของไตรวาเลนท์โครเมียมคือ 50 ถึง 200 mcg จากการสำรวจพบว่าคนทั่วไปจะได้รับไตรวาเลนท์โครเมียมจากอาหารในแต่ละวัน เพียง 20-40 mcg เท่านั้น ดังนั้นเราจะต้องเลือกแหล่งอาหารที่เหมาะสมในการเพิ่ม GTF
ปริมาณโครเมียมในอาหารทั่วไป
ชนิดของอาหาร ปริมาณ ปริมาณโครเมียม (ไมโครกรัม)
วาฟเฟิล 1.75 กรัม 6.7
เค้กโฮลวีต 1,100 กรัม 3.6
น้ำองุ่น 1 ถ้วย (240 ซีซี) 7.5
น้ำส้ม 1 ถ้วย (240 ซีซี) 2.2
มันฝรั่ง 1 ถ้วย (240 ซีซี) 2.7
บล็อคโคลี 1 ถ้วย (240 ซีซี) 22
จากตารางด้านบนพบว่า บล็อคโคลีมีปริมาณไตรวาเลนท์โครเมียมมากที่สุด ต่อมาคือน้ำองุ่น โดยใบผักและผลไม้ก็พบไตรวาเลนท์โครเมียมเช่นกัน แต่ไฟเบอร์ที่ได้รับในระหว่างมื้ออาหาร จะไปรบกวนการดูดซึมของไตรวาเลนท์โครเมียม ดังนั้นผลิตภัณฑ์ GTF จึงเป็นแหล่งอาหารเสริมโครเมียมที่ดี
คนรุ่นใหม่จึงต้องทานอาหารเสริม GTF เนื่องจากสภาพร่างกายและสุขภาพของแต่ละคนมีความแตกต่างกัน ดังนั้นการได้รับ GTF จึงแตกต่างกันไปด้วย
|