สถิติ
เปิดเมื่อ19/10/2011
อัพเดท17/03/2024
ผู้เข้าชม5516147
แสดงหน้า7746624
สินค้า
บทความ
ทางเดินอาหาร
16 วิธีป้องกันท้องอืด จากโรคกรดไหลย้อนกลับ (GERD)
ภาวะกรดไหลย้อน
นม GTF
โรคลึกลับ CFS (Chronic fatigue syndrome หรือโรคอ่อนเพลียเรื้อรัง ) ยาแก้และวิธีแก้
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 4)
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ(ตอนที่ 3)
อันเนื่องมากจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 2)
อันเนื่องมาจากความหวาน ระวัง! อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุอย่านึกว่าเป็นเรื่องเล็ก(ตอนที่ 1)
การอนุญาตและการจดทะเบียนในประเะทศต่างๆ
สิทธิบัตรของนม GTF
สิทธิบัตรของนม GTF
นม GTF กับรูปร่างและผิวพรรณ
โรงพยาบาลที่ใช้ ผลิตภัณฑ์ GTF
รางวัลต่างๆ ของนม GTF
การวิจัยและพัฒนานม GTF
ทำไมคนรุ่นใหม่...ขาดสารอาหาร
คำแนะนำการบริโภคนม GTF
รายละเอียดนม GTF
ประโยชน์ที่ได้รับจากนม GTF
VDO ประสบการณ์ผู้ใช้ GTF
VDO รายละเอียด GTF ตอนที่ 1-5
นม GT&F ช่วยให้คุณควบคุมโรคเบาหวาน ได้อย่างไร..
ทำไมต้องนม GTF
มะเร็ง
ถั่วเหลืองกับมะเร็งเต้านม
การฟื้นฟูร่างกายหลังได้รับเคมีบำบัด
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 3
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 2
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 1
วิธีป้องกันการติดเชื้อระหว่างเคมีบำบัด
แอสตาแซนธิน (Astaxanthin)
สารอนุมูลอิสระ (Free Radicals) คืออะไร?
แอสตาแซนธิน : การลดความเมื่อยล้าของดวงตา
แอสตาแซนธิน : ความทนทานและการฟื้นตัวของกล้ามเนื้อ
แอสตาแซนธิน : สารต้านอนุมูลอิสระที่เหนือกว่า
“Astaxanthin” คืออะไร?
ผิวหนัง
ตำแหน่งสิวบอกอารมณ์และโรคได้
วิธีปราบสิว
โรคสะเก็ดเงินหรือโรคเรื้อนกวาง ( Psoriasis )
โรคผิวหนังอักเสบ (ECZEMA)
สิว และวิธีแก้ปัญหาเกี่ยวกับ สิว เบื้องต้น
บทความทั่วไป
10 ความจริงเกี่ยวกับตัวเรา... ที่คุณอาจไม่รู้
เคล็ดลับในการกินอาหารเสริม
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
5 ผลวิจัย พิชิตความเครียด
10 การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ที่บ่งบอกว่าคุณกำลังเป็นโรค…
พลังงานแม่เหล็กบำบัดโรค
เตือน “กินน้ำตาลเกินจำเป็น” โอกาสเกิดโรคแทรกง่ายขึ้น
18 สาเหตุ ทำให้ไม่มีเรี่ยวแรง + อ่อนเพลีย
การเสียชีวิตของนักกีฬาในสนามแข่งขัน
รู้ได้อย่างไรว่า...อ้วนลงพุง หรือ เป็น Metabolic syndrome
ไม่ขับถ่ายตอนเช้าจะเกิดอะไรขึ้น
การเลือกรับประทานอาหารเสริม วิตามิน และเกลือแร่
อาหารเสริม Co-Enzyme Q10 โคเอ็นไซม์ คิวเท็น คืออะไร
วิธีป้องกัน อาการภูมิแพ้
กินยาแก้อักเสบ (ยาปฏิชีวนะ) บ่อยๆ ทำให้เชื้อโรคดื้อยา รักษาไม่หาย
แครนเบอรรี่ Cranberry
การกอด มหัศจรรย์แห่งสัมผัส
โรคภูมิแพ้
อันตรายจากบุหรี่ และตัวช่วยล้างพิษจากบุหรี่
วิธีการดื่มน้ำที่ถูกวิธี
Bell Stem Cell Activator, 60 caps
เมลาโตนิน (Melatonin)
นาฬิกาชีวภาพ นาฬิกาชีวิต
กรดอะมิโนจำเป็น 9 ชนิด ที่ร่างกายสร้างขึ้นเองไม่ได้
อาหารธัญพืชปรุงพิเศษ
เบาหวาน
เรื่องหวานๆ กับยาเบาหวาน
ความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยเบาหวาน
ภัยเงียบ....โรคหัวใจในผู้เป็นเบาหวาน
เลือดหนืดในโรคเบาหวาน
เลือดข้นกับโรคหัวใจ
เบาหวาน
การควบคุมอาหารในผู้ป่วยเบาหวาน
ทางเดินปัสสาวะ
Share โรคไตวายเรื้อรัง Chronic renal failure (CRF)
สาเหตุของโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis) อาการของโรค และวิธีรักษา
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ Urinary tract infections (UTI)
สมองและระบบประสาท
โคลีน
โคลีน ไบทาร์เทรต (Choline Bitartrate)
ใบบัวบก (Gotu Kola)
DMEA
cavinton หรือ vinpocetine
Neuro-ps บำรุงสมอง เพิ่มความจำ ลดความเครียด ช่วยเรื่องการนอนหลับ
ถาม-ตอบ เกี่ยวกับการใช้ Neuro-PS
Neuro-PS บำรุงสมอง,เสริมความจำ ลดความเครียด
บทความจากต่างประเทศ
How To Decrease Inflammation‏
Alzheimer’s on the Rise: What You Can Do
ปฎิทิน
March 2024
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
     
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
      
สมาชิก

สมัครสมาชิก | ลืมรหัสผ่าน

ภัยเงียบ....โรคหัวใจในผู้เป็นเบาหวาน

อ่าน 5268 | ตอบ 3

ภัยเงียบ...โรคหัวใจในผู้เป็นเบาหวาน
โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ เมื่อก่อนอาจจะเป็นเรื่องของผู้สูงอายุเท่านั้น แต่ในทุกวันนี้เกิดขึ้น ได้กับผู้ที่มีอายุน้อยลงเรื่อยๆ จนกลายเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของประชากรโลก รวมทั้งใน ประเทศไทยด้วย แต่ทราบหรือไม่ว่าโรคนี้มีความสัมพันธ์กับผู้ป่วยเบาหวานเป็นอย่างมาก เป็นภาวะแทรก ซ้อนที่พบบ่อยในผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานมานาน และมีการควบคุมระดับน้ำตาลไม่ดีพอ ทำให้เกิดความเสื่อม ของหลอดเลือดแดงทั่วร่างกาย เห็นได้จากสาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ใน ผู้ป่วยเบาหวาน เกิดจากโรค หลอดเลือดหัวใจ ซึ่งเป็นอัตราการตายที่สูงกว่าผู้ที่ไม่เป็นเบาหวานถึง 7 เท่า

ผู้ป่วยเบาหวานมีความเสี่ยงสูงในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ

 มีโอกาสเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจขณะที่มีอายุน้อยกว่าคนทั่วไป และมีความรุนแรงมากกว่า คนทั่วไป
 จะมีอัตราการเสียชีวิตและภาวะแทรกซ้อนได้มากกว่าคนทั่วไป เมื่อเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบเฉียบพลัน
 มีโอกาสเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจมากกว่าคนทั่วไป 2-4 เท่า
  มีโรคหลอดเลือดหัวใจเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับ 1
  มีอัตราการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจในผู้ป่วยหญิงมากกว่าชาย
  มักจะมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น ความดัน ไขมันสูง ทำให้มีอุบัติการณ์การเกิดโรคหัวใจสูงขึ้น

ทำไมต้องป้องกันโรคแทรกซ้อนทางหัวใจจากเบาหวาน
ผู้ป่วยเบาหวานมักจะมีความผิดปกติของหลอดเลือดเร็วกว่าคนปกติทั่วไป รอยโรคเหล่านี้ (plaque) อาจจะมีการปริ ซึ่งจะเหนี่ยวนำทำให้เกิดลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดอย่างเฉียบพลัน ทำให้มีการตายของ กล้ามเนื้อตามมา และนอกจากนั้นอัตราการเสียชีวิตก็เกิดขึ้นมากกว่า ถ้าเกิดขึ้นในผู้ป่วยเบาหวานการรักษา ได้ผลดีน้อยกว่าคนทั่วไป การป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคหัวใจ ย่อมดีกว่าการปล่อยให้เกิดโรค แล้วค่อยทำการรักษา

ทำไม...ผู้ป่วยเบาหวานจึงมีโอกาสเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจมากกว่าหรือรุนแรงกว่าคนที่เป็นโรคอื่น

 ระดับน้ำตาลที่เพิ่มขึ้นทำให้เกิดความเสื่อมของผนังหลอดเลือดแดงทั่วร่างกาย
ท ภาวะเบาหวานทำให้มีสารบางชนิดเพิ่มสูงขึ้นในเลือดสารต่างๆ ทำให้เกิดหลอดเลือดแดงเสื่อมได้เพิ่มขึ้น 
  ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 อาจจะมีภาวะดื้อต่ออินซูลิน และมักจะมีปัจจัยเสี่ยงร่วมด้วย เช่นภาวะไขมันในเลือดสูง โรคความดันโลหิตสูง และมีโรคอ้วน การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ ระดับอินซูลินในเลือดสูง ส่งผลทำให้หลอดเลือดมีโครงสร้างและหน้าที่ผิดปกติไป หลอดเลือดต่างๆ ที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจเกิดอักเสบ มีโอกาสปริแตก ทำให้มีลิ่มเลือดอุดตันอย่างฉับพลันได้

อาการโรคหลอดเลือดหัวใจในผู้ป่วยเบาหวานแตกต่างจากผู้ป่วยโรคหัวใจอื่นๆ หรือไม่ 
อาการเจ็บหน้าอกของโรคหลอดเลือดหัวใจในผู้ที่เป็นเบาหวาน มักไม่ชัดเจนหรือไม่มี เนื่องจาก มักมีปัญหาปลายประสาทรับความรู้สึกเสื่อมสภาพร่วมด้วย ทำให้วินิจฉัยโรคได้ยากกว่าปกติ 

อาการอื่น ที่ทำให้สงสัยว่าอาจเป็นโรคหัวใจ ได้แก่ อาการเหนื่อยง่ายกว่าปกติ อาการแน่น อึดอัด บริเวณกลางหน้าอก หน้าอกข้างซ้าย หรือลิ้นปี่ คล้ายอาการจุกเสียด อาหารไม่ย่อย อาการปวดร้าวที่ท้องแขนด้านใน หน้ามืด วิงเวียน เหงื่ออก ตัวเย็น ใจสั่น จะเป็นลม หรือหมดสติ อาการอาจมีหลายอย่างเกิดขึ้นเวลาใดก็ได้ อาจมี ภายหลังจากที่รับประทานอาหารในปริมาณมาก ตื่นนอนตอนเช้า อากาศเย็น หลังออกกำลังกาย ขณะเบ่ง ถ่ายอุจจาระ (ในรายที่ท้องผูก) เป็นต้น อาการเหล่านี้เป็นสัญญาณอันตรายที่ต้องเข้ารับการพบแพทย์

ควรป้องกันและรักษาโรคแทรกซ้อนทางหลอดเลือดหัวใจ จากเบาหวานอย่างไร 
ภาวะโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ป้องกันได้ในผู้ป่วยเบาหวาน ต้องพยายามควบคุมเบาหวานให้อยู่ใน เกณฑ์ปกติมากที่สุด ได้แก่ การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้เป็นปกติ และการแก้ไขภาวะผิดปกติที่พบ ร่วมกับโรคเบาหวาน เช่น ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง ความอ้วน และอื่นๆ หรือในรายที่โรคหลอดเลือดหัวใจตีบเกิดขึ้นแล้ว การดูแลตนเอง การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ  การพบแพทย์ตามนัดมีความสำคัญ

การป้องกันไม่ให้เกิดโรค ย่อมดีกว่าการปล่อยให้เกิดโรคแล้วค่อยทำการรักษา ผู้ป่วยเบาหวาน จึงต้องพยายามดูแลตนเองด้วยการควบคุมเบาหวานให้ดี เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนโดยเฉพาะโรคหลอด เลือดหัวใจตีบ ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตในผู้ป่วยเบาหวานด้วย

หรือใช้ผลิตภัณฑ์ที่ช่วยควบคุมเบาหวานโดยดูได้ที่
 
         

http://goodproduct.net/product/detail-19255.html

http://goodproduct.net/product/detail-45236.html

หรือโทรสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ 0879393689,0840068422

ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 

ตรวจสอบสถานะ การจัดส่งของที่สั่ง ทางไปรษณีย์ แบบพัสดุ ลงทะเบียน และ EMS http://track.thailandpost.co.th/