สถิติ
เปิดเมื่อ19/10/2011
อัพเดท4/10/2023
ผู้เข้าชม5384489
แสดงหน้า7595001
สินค้า
บทความ
ทางเดินอาหาร
16 วิธีป้องกันท้องอืด จากโรคกรดไหลย้อนกลับ (GERD)
ภาวะกรดไหลย้อน
นม GTF
โรคลึกลับ CFS (Chronic fatigue syndrome หรือโรคอ่อนเพลียเรื้อรัง ) ยาแก้และวิธีแก้
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 4)
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ(ตอนที่ 3)
อันเนื่องมากจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 2)
อันเนื่องมาจากความหวาน ระวัง! อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุอย่านึกว่าเป็นเรื่องเล็ก(ตอนที่ 1)
การอนุญาตและการจดทะเบียนในประเะทศต่างๆ
สิทธิบัตรของนม GTF
สิทธิบัตรของนม GTF
นม GTF กับรูปร่างและผิวพรรณ
โรงพยาบาลที่ใช้ ผลิตภัณฑ์ GTF
รางวัลต่างๆ ของนม GTF
การวิจัยและพัฒนานม GTF
ทำไมคนรุ่นใหม่...ขาดสารอาหาร
คำแนะนำการบริโภคนม GTF
รายละเอียดนม GTF
ประโยชน์ที่ได้รับจากนม GTF
VDO ประสบการณ์ผู้ใช้ GTF
VDO รายละเอียด GTF ตอนที่ 1-5
นม GT&F ช่วยให้คุณควบคุมโรคเบาหวาน ได้อย่างไร..
ทำไมต้องนม GTF
มะเร็ง
ถั่วเหลืองกับมะเร็งเต้านม
การฟื้นฟูร่างกายหลังได้รับเคมีบำบัด
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 3
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 2
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 1
วิธีป้องกันการติดเชื้อระหว่างเคมีบำบัด
แอสตาแซนธิน (Astaxanthin)
สารอนุมูลอิสระ (Free Radicals) คืออะไร?
แอสตาแซนธิน : การลดความเมื่อยล้าของดวงตา
แอสตาแซนธิน : ความทนทานและการฟื้นตัวของกล้ามเนื้อ
แอสตาแซนธิน : สารต้านอนุมูลอิสระที่เหนือกว่า
“Astaxanthin” คืออะไร?
ผิวหนัง
ตำแหน่งสิวบอกอารมณ์และโรคได้
วิธีปราบสิว
โรคสะเก็ดเงินหรือโรคเรื้อนกวาง ( Psoriasis )
โรคผิวหนังอักเสบ (ECZEMA)
สิว และวิธีแก้ปัญหาเกี่ยวกับ สิว เบื้องต้น
บทความทั่วไป
10 ความจริงเกี่ยวกับตัวเรา... ที่คุณอาจไม่รู้
เคล็ดลับในการกินอาหารเสริม
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
5 ผลวิจัย พิชิตความเครียด
10 การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ที่บ่งบอกว่าคุณกำลังเป็นโรค…
พลังงานแม่เหล็กบำบัดโรค
เตือน “กินน้ำตาลเกินจำเป็น” โอกาสเกิดโรคแทรกง่ายขึ้น
18 สาเหตุ ทำให้ไม่มีเรี่ยวแรง + อ่อนเพลีย
การเสียชีวิตของนักกีฬาในสนามแข่งขัน
รู้ได้อย่างไรว่า...อ้วนลงพุง หรือ เป็น Metabolic syndrome
ไม่ขับถ่ายตอนเช้าจะเกิดอะไรขึ้น
การเลือกรับประทานอาหารเสริม วิตามิน และเกลือแร่
อาหารเสริม Co-Enzyme Q10 โคเอ็นไซม์ คิวเท็น คืออะไร
วิธีป้องกัน อาการภูมิแพ้
กินยาแก้อักเสบ (ยาปฏิชีวนะ) บ่อยๆ ทำให้เชื้อโรคดื้อยา รักษาไม่หาย
แครนเบอรรี่ Cranberry
การกอด มหัศจรรย์แห่งสัมผัส
โรคภูมิแพ้
อันตรายจากบุหรี่ และตัวช่วยล้างพิษจากบุหรี่
วิธีการดื่มน้ำที่ถูกวิธี
Bell Stem Cell Activator, 60 caps
เมลาโตนิน (Melatonin)
นาฬิกาชีวภาพ นาฬิกาชีวิต
กรดอะมิโนจำเป็น 9 ชนิด ที่ร่างกายสร้างขึ้นเองไม่ได้
อาหารธัญพืชปรุงพิเศษ
เบาหวาน
เรื่องหวานๆ กับยาเบาหวาน
ความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยเบาหวาน
ภัยเงียบ....โรคหัวใจในผู้เป็นเบาหวาน
เลือดหนืดในโรคเบาหวาน
เลือดข้นกับโรคหัวใจ
เบาหวาน
การควบคุมอาหารในผู้ป่วยเบาหวาน
ทางเดินปัสสาวะ
Share โรคไตวายเรื้อรัง Chronic renal failure (CRF)
สาเหตุของโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis) อาการของโรค และวิธีรักษา
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ Urinary tract infections (UTI)
สมองและระบบประสาท
โคลีน
โคลีน ไบทาร์เทรต (Choline Bitartrate)
ใบบัวบก (Gotu Kola)
DMEA
cavinton หรือ vinpocetine
Neuro-ps บำรุงสมอง เพิ่มความจำ ลดความเครียด ช่วยเรื่องการนอนหลับ
ถาม-ตอบ เกี่ยวกับการใช้ Neuro-PS
Neuro-PS บำรุงสมอง,เสริมความจำ ลดความเครียด
บทความจากต่างประเทศ
How To Decrease Inflammation‏
Alzheimer’s on the Rise: What You Can Do
ปฎิทิน
October 2023
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
    
สมาชิก

สมัครสมาชิก | ลืมรหัสผ่าน

นาฬิกาชีวภาพ นาฬิกาชีวิต

อ่าน 5858 | ตอบ 1
 
นาฬิกาชีวภาพ นาฬิกาชีวิต
Text Size
A A A

    รู้หรือไม่ว่าระบบภายในร่างกายของเราก็มีเวลาในการทำงานเหมือนกัน เหมือนกับเวลาทำงานในแต่ละวันนั่นแหละ 

    คงเคยสังเกตว่า ถ้าวันไหนเรานอนหลับไม่เพียงพอ วันต่อมาร่างกายเราจะแปรปรวน ท้องผูกบ้าง ง่วงนอนบ้าง นั่นเป็นเพราะว่าร่างกายเมื่อถึงเวลาพัก แล้วไม่ได้พัก แต่ถึงเวลาที่จะต้องทำงานก็เลยไม่มีแรงขึ้นมาซะอย่างนั้น
 

    เห็นทีแบบนี้ เรามาเช็คดูกันซักนิดว่ากลไกการทำงานของร่างกายเรา เขาทำงานกันเวลาไหน อย่างไรบ้าง แล้วปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเราให้สอดคล้อง น่าจะทำให้ร่างกายเราสมดุลมากขึ้น

1.เวลาของปอด 03.00 -05.00

     ช่วงเวลานี้ปอดจะทำงานได้อย่างเต็มที่ จึงควรตื่นนอน เพื่อมาสูดอากาศบริสุทธิ์ และรับแสงแดดในยามเช้า หรือออกกำลังกายเพื่อเพิ่มโอกาสในการสูดออกซิเจนให้มากขึ้น ใครที่ตื่นนอนช่วงนี้เป็นประจำ ปอด และผิวพรรณจะดี

2.เวลาของลำไส้ใหญ่ 05.00 -07.00

    ลำไส้ใหญ่จะมีการบีบตัวสูงเพื่อกำจัดอาหารออกไป หากไม่ได้ขับถ่ายในช่วงนี้ แต่ไปขับถ่ายช่วงเวลาอื่น อาจจะขับถ่ายออกไม่หมด อุจจาระบางส่วนจะตกค้างอยู่ในลำไส้และจะดูดซึมสารพิษกลับเข้าไปในกระแสเลือด ทำให้เกิดสิวและริ้วรอย ดังนั้นจึงควรขับถ่ายอุจจาระในช่วงเวลานี้ให้เป็นนิสัยในทุกเช้า ถ้าไม่ถ่าย ให้ดื่มน้ำอุ่น 2 แก้ว หรือดื่มน้ำผึ้งผสมมะนาว โดยใช้น้ำเปล่า 1 แก้ว + น้ำผึ้ง 1 ช้อนโต๊ะ +น้ำมะนาว 4-5 ลูก หรืออาจจะใช้วิธีบริหารโดยการยืนตรง หายใจเข้าแล้วก้มลง พร้อมทั้งหายใจออก เอามือเท้าเข่าแขม่วท้องจนเหมือนว่าท้องไปติดสันหลัง แต่ถ้าใครออกกำลังกายช่วงก่อนหน้านี้ จะไม่มีปัญหาเรื่องการขับถ่ายเพราะลำไส้ได้ขยับตัวแล้ว จึงทำให้ขับถ่ายดี
 
3.เวลาของกระเพาะอาหาร 07.00 -09.00

    ช่วงเวลานี้ กระเพาะอาหารจะหลั่งน้ำย่อยออกมามากที่สุดเพื่อย่อยอาหารออกไปเลี้ยงร่างกาย ใครที่กินอาหารช่วงเวลานี้ทุกวัน กระเพาะอาหารจะแข็งแรง และร่างกายได้รับพลังงานอย่างสม่ำเสมอ ถ้าไม่กินอาหารช่วงนี้กระเพาะอาหารจะถูกกรดย่อยผนังจนอ่อนแอ ส่งผลให้เป็นคนตัดสินใจช้า ขี้กังวล ขาไม่ค่อยมีแรง ปวดเข่า หน้าแก่ก่อนวัย และเพิ่มความเสี่ยงโรคในอวัยวะอื่น ๆ ที่ต้องการพลังงานจากกระเพาะอาหาร 
 
4.เวลาของม้าม 09.00 -11.00 

    ม้ามอยู่บริเวณชายโครงด้านซ้าย จะรับพลังงานจากการย่อยอาหารมาแปรสภาพเป็นเม็ดเลือดแดง เพื่อนำไปให้ร่างกายใช้ดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ได้ตลอดทั้งวัน ทำหน้าที่สร้างน้ำเหลือง และควบคุมไขมันหากร่างกายไม่ได้รับพลังงานจากอาหารเช้า ม้ามจะต้องดึงพลังงานสำรองอื่นออกมาใช้ทำให้ร่างกายอ่อนเพลีย ไม่สดชื่น คนทีปวดศีรษะบ่อย มักมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของม้ามเช่นกัน

5.เวลาของหัวใจ 11.00 -13.00 

    ช่วงเวลานี้หัวใจจะทำงานหนัก จึงควรหลีกเลี่ยงความเครียด หรือการใช้ความคิดหนัก ๆ และหาทางระงับอารมณ์ตื่นเต้นหรืออาการตกใจให้ได้

6.เวลาของลำไส้เล็ก 13.00 -15.00 

    ช่วงนี้ลำไส้เล็กจะดูดซึมสารอาหารที่เป็นน้ำทุกชนิด เพื่อนำไปสร้างเป็นกรดอะมิโน เซลล์สมอง และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ดังนั้นควรงดกินอาหารทุกประเภทเพื่อให้ลำไส้เล็กได้ทำงาน

 

นาฬิกาชีวภาพ นาฬิกาชีวิต (2)
Text Size
A A A
    นาฬิกาชีวภาพที่ร่างกายสร้างขึ้น เพื่อแบ่งหน้าที่การทำงานในแต่ละส่วน ทำให้ร่างกายสมดุล หากแต่เราไม่เคยรู้อย่างลึกซึ้ง

    แต่ตอนนี้เมื่อรู้แล้ว ก็ควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตในแต่ละวันให้สอดคล้อง จะได้มีสุขภาพที่แข็งแรง สมบูรณ์ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้

    แต่ตอนนี้ มาเช็คดูช่วงเวลาที่เหลือกันต่อเลย
 
7.เวลาของกระเพาะปัสสาวะ 15.00 -17.00 

    ช่วงเวลานี้ควรทำให้เหงื่อออก ด้วยการออกกำลังกาย หรืออบตัว กระเพาะปัสสาวะจะได้แข็งแรง การอั้นปัสสาวะบ่อย ๆ จะทำให้ปัสสาวะถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือด ส่งผลให้เวลามีเหงื่ออก จะมีกลิ่นเหม็นเหมือนกลิ่นปัสสาวะ

8.เวลาของไต 17.00 - 19.00 

    ควรทำใจให้สดชื่น ไม่ง่วงเหงาหาวนอนในช่วงเวลานี้ เพราะถ้ามีอาการดังกล่าว ถือว่ามีสัญญาณบางอย่างบ่งบอกถึงปัญหาของไตเสื่อม

9.เวลาของเยื่อหุ้มหัวใจ 19.00 - 21.00

    ช่วงนี้ต้องทำจิตใจให้สงบ มีสมาธิ ด้วยการสวดมนต์หรือนั่งสมาธิ หรือทำกิจกรรมเบา ๆ เพื่อให้รู้สึกผ่อนคลาย หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่จะทำให้รู้สึก ตื่นเต้น ดีใจ หัวเราะ เศร้าหรือเสียใจ หรือการทำกิจกรรมใด ๆ ที่ต้องใช้สมองทำงาน
 
10.เวลาเข้านอน 21.00 - 23.00 

    ช่วงนี้ระบบภูมิต้านทานโรคจะทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และสะสมพลังงานสำรองไว้ซ่อมแซมร่างกายตลอดคืน การนอนช่วงนี้จะทำให้ร่างกายได้พักผ่อนอย่างเต็มที่ แต่หากเลยช่วงเวลานี้ไปแล้ว ต่อให้นอนครบ 8 ชั่วโมงไปแล้ว ก็จะไม่รู้สึกสดชื่นเท่า ที่สำคัญช่วงเวลานี้ต้องทำให้ร่างกายอบอุ่น ห้ามอาบน้ำเย็นในและงดการตากลมช่วงเวลานี้ เพราะจะทำให้เจ็บป่วยง่าย
 
11.เวลาของถุงน้ำดี 23.00 - 01.00 

    เป็นช่วงเวลาเดียวที่ไขมันจะถูกย่อยสลายอย่างมีประสิทธิภาพ ถ้าร่างกายไม่ได้พักผ่อนในช่วงนี้ ไขมันที่ไม่ผ่านการย่อยจะตกตะกอนตามส่วนต่าง ๆ เช่น ต้นแขน ต้นขา หน้าท้อง และถุงใต้ตาเป็นต้น ...สาว ๆ ใครชอบอดนอนระวังข้อนี้ไว้ให้ดี

12.เวลาของตับ 01.00 - 03.00

    เวลาเป็นช่วงเวลาที่ดีที่สุดที่ตับจะขจัดสารพิษในร่างกาย ทำลายเม็ดเลือดที่เสื่อมอายุและเสื่อมสภาพ สร้างสารที่ทำให้เลือดแข็งตัว และสร้างน้ำดีไปเก็บไว้ที่ถุงน้ำดีเพื่อใช้ย่อยไขมัน ดังนั้นจึงควรนอนหลับพักผ่อน ถ้าใครนอนหลับได้ดีเป็นประจำช่วงนี้ ตับจะหลั่งสารมีราโทนินเพื่อฆ่าเชื้อโรค ทำให้หน้าอ่อนกว่าวัย และยังหลั่งสารเอ็นดอร์ฟินออกมาด้วย ลองสังเกตใครนอนหลับเต็มที่ตลอดคืน ตื่นขึ้นมาใบหน้าจะสดใส ใครมีสิว ก็จะยุบลงด้วย แต่ถ้าหากใครกินหรือไม่พักผ่อนในช่วงนี้ ตับจะไม่ได้ทำงาน ทำให้มีสารพิษตกค้างอยู่ในร่างกาย

 


    ร่างกายเรามีอยู่หนึ่งเดียว อะไหล่หรืออวัยวะต่าง ๆ ก็มีอยู่หนึ่งเดียว หากเรารู้จักใช้ รู้จักรักษาดูแลเราก็จะมีต้นทุนร่างกายที่ได้มาฟรี ๆ ใช้งานไปอีกนาน พยายามปฏิบัติตัวให้สอดคล้องกับนาฬิกาชีวภาพให้มากที่สุด เราก็จะมีสุขภาพที่ดีในระยะยาว


                                                  ข้อมูลจาก www.never-age.com

ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 

ตรวจสอบสถานะ การจัดส่งของที่สั่ง ทางไปรษณีย์ แบบพัสดุ ลงทะเบียน และ EMS http://track.thailandpost.co.th/