สถิติ
เปิดเมื่อ19/10/2011
อัพเดท26/04/2024
ผู้เข้าชม5536121
แสดงหน้า7768429
สินค้า
บทความ
ทางเดินอาหาร
16 วิธีป้องกันท้องอืด จากโรคกรดไหลย้อนกลับ (GERD)
ภาวะกรดไหลย้อน
นม GTF
โรคลึกลับ CFS (Chronic fatigue syndrome หรือโรคอ่อนเพลียเรื้อรัง ) ยาแก้และวิธีแก้
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 4)
อันเนื่องมาจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ(ตอนที่ 3)
อันเนื่องมากจากความหวาน อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุ (ตอนที่ 2)
อันเนื่องมาจากความหวาน ระวัง! อ่อนเพลียโดยไม่รู้สาเหตุอย่านึกว่าเป็นเรื่องเล็ก(ตอนที่ 1)
การอนุญาตและการจดทะเบียนในประเะทศต่างๆ
สิทธิบัตรของนม GTF
สิทธิบัตรของนม GTF
นม GTF กับรูปร่างและผิวพรรณ
โรงพยาบาลที่ใช้ ผลิตภัณฑ์ GTF
รางวัลต่างๆ ของนม GTF
การวิจัยและพัฒนานม GTF
ทำไมคนรุ่นใหม่...ขาดสารอาหาร
คำแนะนำการบริโภคนม GTF
รายละเอียดนม GTF
ประโยชน์ที่ได้รับจากนม GTF
VDO ประสบการณ์ผู้ใช้ GTF
VDO รายละเอียด GTF ตอนที่ 1-5
นม GT&F ช่วยให้คุณควบคุมโรคเบาหวาน ได้อย่างไร..
ทำไมต้องนม GTF
มะเร็ง
ถั่วเหลืองกับมะเร็งเต้านม
การฟื้นฟูร่างกายหลังได้รับเคมีบำบัด
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 3
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 2
วิธีจัดการผลข้างเคียงจากเคมีบำบัด ตอนที่ 1
วิธีป้องกันการติดเชื้อระหว่างเคมีบำบัด
แอสตาแซนธิน (Astaxanthin)
สารอนุมูลอิสระ (Free Radicals) คืออะไร?
แอสตาแซนธิน : การลดความเมื่อยล้าของดวงตา
แอสตาแซนธิน : ความทนทานและการฟื้นตัวของกล้ามเนื้อ
แอสตาแซนธิน : สารต้านอนุมูลอิสระที่เหนือกว่า
“Astaxanthin” คืออะไร?
ผิวหนัง
ตำแหน่งสิวบอกอารมณ์และโรคได้
วิธีปราบสิว
โรคสะเก็ดเงินหรือโรคเรื้อนกวาง ( Psoriasis )
โรคผิวหนังอักเสบ (ECZEMA)
สิว และวิธีแก้ปัญหาเกี่ยวกับ สิว เบื้องต้น
บทความทั่วไป
10 ความจริงเกี่ยวกับตัวเรา... ที่คุณอาจไม่รู้
เคล็ดลับในการกินอาหารเสริม
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
NCD : โรควิถีชีวิต (Non – communicable Diseases - NCD)
5 ผลวิจัย พิชิตความเครียด
10 การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ที่บ่งบอกว่าคุณกำลังเป็นโรค…
พลังงานแม่เหล็กบำบัดโรค
เตือน “กินน้ำตาลเกินจำเป็น” โอกาสเกิดโรคแทรกง่ายขึ้น
18 สาเหตุ ทำให้ไม่มีเรี่ยวแรง + อ่อนเพลีย
การเสียชีวิตของนักกีฬาในสนามแข่งขัน
รู้ได้อย่างไรว่า...อ้วนลงพุง หรือ เป็น Metabolic syndrome
ไม่ขับถ่ายตอนเช้าจะเกิดอะไรขึ้น
การเลือกรับประทานอาหารเสริม วิตามิน และเกลือแร่
อาหารเสริม Co-Enzyme Q10 โคเอ็นไซม์ คิวเท็น คืออะไร
วิธีป้องกัน อาการภูมิแพ้
กินยาแก้อักเสบ (ยาปฏิชีวนะ) บ่อยๆ ทำให้เชื้อโรคดื้อยา รักษาไม่หาย
แครนเบอรรี่ Cranberry
การกอด มหัศจรรย์แห่งสัมผัส
โรคภูมิแพ้
อันตรายจากบุหรี่ และตัวช่วยล้างพิษจากบุหรี่
วิธีการดื่มน้ำที่ถูกวิธี
Bell Stem Cell Activator, 60 caps
เมลาโตนิน (Melatonin)
นาฬิกาชีวภาพ นาฬิกาชีวิต
กรดอะมิโนจำเป็น 9 ชนิด ที่ร่างกายสร้างขึ้นเองไม่ได้
อาหารธัญพืชปรุงพิเศษ
เบาหวาน
เรื่องหวานๆ กับยาเบาหวาน
ความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยเบาหวาน
ภัยเงียบ....โรคหัวใจในผู้เป็นเบาหวาน
เลือดหนืดในโรคเบาหวาน
เลือดข้นกับโรคหัวใจ
เบาหวาน
การควบคุมอาหารในผู้ป่วยเบาหวาน
ทางเดินปัสสาวะ
Share โรคไตวายเรื้อรัง Chronic renal failure (CRF)
สาเหตุของโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis) อาการของโรค และวิธีรักษา
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ Urinary tract infections (UTI)
สมองและระบบประสาท
โคลีน
โคลีน ไบทาร์เทรต (Choline Bitartrate)
ใบบัวบก (Gotu Kola)
DMEA
cavinton หรือ vinpocetine
Neuro-ps บำรุงสมอง เพิ่มความจำ ลดความเครียด ช่วยเรื่องการนอนหลับ
ถาม-ตอบ เกี่ยวกับการใช้ Neuro-PS
Neuro-PS บำรุงสมอง,เสริมความจำ ลดความเครียด
บทความจากต่างประเทศ
How To Decrease Inflammation‏
Alzheimer’s on the Rise: What You Can Do
ปฎิทิน
April 2024
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
    
สมาชิก

สมัครสมาชิก | ลืมรหัสผ่าน

5 ผลวิจัย พิชิตความเครียด

อ่าน 5654 | ตอบ 42

 

- 5 ผลวิจัย พิชิตความเครียด -

“จน เครียด กินเหล้า” เป็นวงจรที่ทำให้ชีวิตตกต่ำ ควรจะหลีกเลี่ยงซะ เเต่ถ้าได้เผลอตัวเผลอใจพลาดไปใช้ชีวิตในวงจรนี้เเล้ว ก็ควรจะรีบถอนตัวออกมา ปัญหาก็คือ...จะถอนตัวยังไงล่ะ? ความจนก็พอจะเเก้ได้ (ประหยัด ขยัน เกมเเก้จน เกมปลดหนี้) กินเหล้าก็หักห้ามใจได้  เเต่ความเครียดนี่สิที่เราต้องเผชิญมันอย่างไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ เเล้วจะทำยังไงกับมันดี เรามาเรียนรู้เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยเกี่ยวกับการจัดการกับความเครียดกันซักหน่อยดีกว่า....

บทเรียนที่ 1: อย่าเครียดจนลืมหายใจ

หายใจเข้าลึกๆเเล้วหายใจออกช้าๆ ทราบมั๊ยครับว่า เวลาเราหายใจออก หัวใจจะเต้นช้าลงเล็กน้อย หัวใจที่เต้นช้าลงเพียงเล็กน้อยสามารถบรรเทาความเครียดได้ นี่เป็นหนึ่งในกลไกทางเคมีที่ร่างกายใช้จัดการกับความเครียด เมื่อเราหายใจออก สมองจะส่งสัญญาณผ่านเส้นประสาทที่ช่องอกให้กล้ามเนื้อหัวใจทำงานช้าลง พอเราหายใจเข้า สัญญาณดังกล่าวจะอ่อนลงเเล้วหัวใจก็จะเต้นเร็วตามเดิม “เข้าเต้นเร็ว ออกเต้นช้า” 

เเต่เเทนที่จะหาเวลาสงบๆมาผ่อนคลายเเละหายใจให้คล่องคอ เรากลับจัดการกับความเครียดด้วยวิธีผิดๆ เช่น ดูทีวี (ทำให้ไม่ได้ใช้เวลากับเพื่อนเเละครอบครัว) รับประทานอาหารสุขภาพ เเละ ไม่ยอมไปออกกำลังกาย (ออกกำลังกายสิดี) เป็นต้น นอกจากนี้ อุปกรณ์สื่อสารพวกโทรศัพท์มือถือที่เรารักนักรักหนาก็หันกลับมาทำร้ายเราได้ เพราะมันทำให้เราปลีกตัวออกมาผ่อนคลายจากโลกของการทำงานได้ยากขึ้น

จิตเเพทย์เชื่อว่าเมื่อ 20 ปีที่เเล้วงานหนักเเละความไม่มั่นคงในหน้าที่การงานเป็นสองต้นเหตุสำคัญของความเครียด เเต่ปัจจุบัน ความเครียดมักเกิดจากความอยุติธรรม เเละ ความเเตกต่างระหว่างนโยบายขององค์กรกับความเชื่อของพนักงาน ความเเตกต่างที่ว่าคืออะไร สมมุติว่าบริษัทคุณเน้นเเต่เรื่องทำยอดขายทำกำไร เเต่คุณต้องการทำงานเพื่อสังคมเเละผลประโยชน์ส่วนรวม หรือสมมุติว่าคุณเป็นพนักงานขาย ขายของให้กับลูกค้าทั้งๆที่รู้ดีว่าลูกค้าของคุณไม่ได้มีความจำเป็นที่จะต้องซื้อสินค้านั้นเลย 

บทเรียนที่ 2: เครียดจัดอาจทำให้ร่างกายไม่ตอบสนองต่อความเครียด

เวลาเราเครียด ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนCortisolออกมา Cortisolมีคุณสมบัติในการเพิ่มความดันเลือด เพิ่มปริมาณน้ำตาลในกระเเสเลือด เเละหยุดยั้งการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน

ก่อนเราตื่น ต่อมไร้ท่อที่อยู่บนไตจะหลั่งCortisolออกมาเพื่อเป็นสัญญาณให้เราตื่นนอน ปริมาณCortisolจะสูงมากเวลาตื่นนอน เป็นสัญญาณที่คุณรู้สึกได้เวลาตื่นขึ้นมา เวลาตื่นขึ้นมาคุณเคยคิดมั๊ยครับว่า “อีกวันเเล้วหรอเนี่ย ขี้เกียจลุก!” เเต่เมื่อเวลาผ่านไปหลังจากเราตื่น Cortisolจะลดลงเรื่อยๆ 

สำหรับคนที่มีอาการหดหู่ หรือ สภาพจิตใจทรุดโทรมนั้น ระดับCortisolจะสูงมากตลอดทั้งวัน ไม่มีการลดระดับเหมือนคนทั่วๆไป ที่น่าเเปลกคือ คนที่อดหลับอดนอนก็มีระดับCortisolสูงอย่างคงที่เช่นกัน

ในทางตรงกันข้าม จะมีคนอีกกลุ่มที่มีระดับCortisolน้อยมากจนผิดปกติตลอดทั้งวัน คนเหล่านี้ได้เเก่ คนที่มีอาการเหนื่อยล้าจากความเครียด ทหารผ่านศึก เเละ เหยื่อการข่มขืน เป็นต้น สมัยก่อนนักวิทยาศาสตร์จะโทษระดับCortisolที่สูงเกินผิดปกติตลอด เเต่ตอนนี้ระดับที่ต่ำมากก็ถูกนำมาอธิบายอาการผิดปกติเช่นกัน 

บทเรียนที่ 3: เครียดมากทำให้คุณเเก่เกินวัย

ในที่สุด นักวิทยาศาสตร์ก็รู้ว่าทำไมความเครียดในระยะยาวทำให้คนเเก่เเกินวัย การทดลองได้ค้นพบสัญญาณการเเก่เเกินวัยในเเม่ที่มีลูกที่เป็นออทิสติกหรืออัมพาต สัญญาณการเเก่เกินวัยชัดเป็นพิเศษในเเม่ที่ได้ดูเเลลูกมาเป็นเวลานานที่สุด หรือเเม่ที่ควบคุมการดำเนินชีวิตตัวเองได้น้อยที่สุด (เเม่ที่ต้องเอาเวลามาดูเเลลูก จนเเทบไม่มีเวลาไปทำอะไรที่ตัวเองอยากทำ) 

สัญญาณการเเก่เกินวัยในย่อหน้าข้างต้นหมายถึงTelomereซึ่งอยู่ในโครโมโซม เมื่อคนเราเเก่ลง โครโมโซมจะสั้นลง สิ่งที่ป้องกันไม่ให้โครโมโซมสั้นลงคือTelomereที่หุ้มปลายเส้นโครโมโซมไว้ Telomereเปรียบได้กับพลาสติกชิ้นเล็กๆที่หุ้มปลายเชือกผูกรองเท้าเพื่อกันไม่ให้ปลายเชือกผูกรองเท้าขาดรุ่ย Telomereจะสั้นมากในเเม่ที่มีลูกที่เป็นออทิสติกหรืออัมพาต ทำให้โครโมโซมสั้นลงเร็วกว่าคนทั่วไป

บทเรียนที่ 4: ความเครียดไม่ยุติธรรม

มีการทดลองในเยอรมัน ได้ให้กลุ่มตัวอย่าง 20 คนเผชิญสถานการณ์ชวนเครียดลักษณะเดียวกัน หลังจากตรวจวัดระดับCortisolของกลุ่มตัวอย่างเเล้วจะพบว่า คนที่มีความเชื่อมั่นในตนเองต่ำนั้น จะเครียดได้ง่ายกว่าคนที่ความเชื่อมั่นในตนเองสูง 

Hippocampusโครงสร้างขนาดเท่านิ้วมือที่เป็นส่วนหนึ่งของสมองนั้น ไวต่อการกระตุ้นของCortisolมาก เมื่อระดับCortisolสูง (ความเครียดคลืบคลานเข้ามา) Hippocampusจะส่งสัญญาณให้ต่อมไร้ท่อหยุดผลิตCortisol ซึ่งเป็นการปิดสวิตช์การตอบสนองต่อความเครียดโดยสิ้นเชิง ผู้ที่มีความเชื่อมั่นในตนเองต่ำจะมีขนาดของHippocampusเล็กกว่าปกติ เข้าใจง่ายๆว่า เล็กกว่าก็ทำงานลำบากกว่า ขนาดที่เล็กกว่าปกตินี้เป็นการยากที่จะเชิญชวนให้สมองส่วนอื่นๆหยุดการตอบสนองต่อความเครียด

บทเรียนที่ 5: จัดการความเครียดด้วยหลักของเหตุเเละผล

เมื่อคนเราเผชิญความเครียด เรามักมองว่าเรามีทางเลือกน้อยมาก น้อยกว่าความเป็นจริง นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาพฤติกรรมเรียกอาการดังกล่าวว่า “Learned Helplessness” หรือ “เคยช่วยไม่ได้ยังไง ก็ช่วยไม่ได้อย่างงั้น” การศึกษาพฤติกรรมของหนูได้ผลสรุปว่า มนุษย์กับหนูมีพฤติกรรมคล้ายคลึงกัน การทดลองดังกล่าวเป็นดังนี้:

นักวิทยาศาสตร์ได้สร้างทางออกให้หนู ให้พวกมันหนีจากการโดนไฟฟ้าอ่อนๆช็อตทุกๆครั้งที่มันได้ยินเสียงกริ่ง หนูเรียนรู้อย่างรวดเร็วว่า เมื่อมีเสียงกริ่ง จะต้องหนีทางไหนเพื่อที่จะหลีกเลี่ยงอันตราย หลังจากนั้น นักวิทยาศาสตร์ก็เริ่มกั้นทางออกที่สร้างไว้ทุกครั้งที่มีเสียงกริ่ง พอหนูหมดทางหนีก็จะโดนช็อต จนหนูถอดใจเลิกหาทางหนี เเต่ต่อมา พอนักวิทยาศาสตร์เปิดทางออกให้หนูเหมือนเดิม หนูกลับไม่หนี กลับอยู่เฉยๆให้โดนช็อตเมื่อได้ยินเสียงกริ่งทั้งๆที่เคยรู้ว่าต้องหนียังไง

คนเราก็เหมือนหนูเเหละครับ มีทรัพยากรที่เราสามารถนำมาใช้ในการเเก้ปัญหามากมาย เเต่เมื่อสถานการณ์เปลี่ยนไป เรากลับถูกความเครียดบดบังซะจนความสามารถในการใช้เหตุเเละผลหายไป ฉะนั้น จงจำไว้ว่า สมองเรามักทำให้เราคิดว่ามัน “ช่วยไม่ได้” เราต้องตั้งสมาธิดีๆเพื่อที่จะจัดการกับความเครียดที่เข้ามาในชีวิตด้วยหลักของเหตุเเละผล โชคดีค่ะ

 

ขอขอบคุณ www.dek-d.com

ความคิดเห็น :
31
อ้างอิง

Neal
Hi there! This blog post could not be written much better! Looking at this article reminds me of my previous roommate! He continually kept talking about this. I will forward this article to him. Fairly certain he's going to have a good read. Thanks for sharing!
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : https://hranenie-bytovoj-tehniki-na-sklade.minsk-uslugi-pr.online/
Neal [37.214.75.xxx] เมื่อ 28/03/2023 11:10
32
อ้างอิง

Curtis
Very descriptive post, I enjoyed that a lot. Will there be a part 2?
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : https://udaleniya-tatuirovok-minsk.online/
Curtis [37.214.75.xxx] เมื่อ 30/03/2023 01:42
33
อ้างอิง

Steffen
Hello to every one, the contents present at this web page are really amazing for people knowledge, well, keep up the nice work fellows.
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : https://udaleniya-tatuirovok.minsk-uslugi-pr.online/
Steffen [37.214.75.xxx] เมื่อ 30/03/2023 04:26
34
อ้างอิง

Candice
Hello there! Quick question that's completely off topic. Do you know how to make your site mobile friendly? My site looks weird when browsing from my apple iphone. I'm trying to find a theme or plugin that might be able to fix this issue. If you have any recommendations, please share. Appreciate it!
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : https://udaleniya-tatuirovok.minsk-uslugi-pr.ru/
Candice [37.214.75.xxx] เมื่อ 30/03/2023 11:46
35
อ้างอิง

Dieter
It is truly a great and helpful piece of info. I'm satisfied that you just shared this useful info with us. Please keep us informed like this. Thank you for sharing.
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : https://hranenie-veshchej-minsk.ru/
Dieter [37.214.56.xxx] เมื่อ 3/04/2023 19:00
36
อ้างอิง

Cornell
Excellent post. I used to be checking continuously this weblog and I am inspired! Extremely useful info particularly the final section :) I take care of such information much. I used to be looking for this certain info for a long time. Thanks and good luck.
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : https://hranenie-veshchej-minsk.site/
Cornell [37.214.56.xxx] เมื่อ 3/04/2023 21:42
37
อ้างอิง

Paula
I'll immediately take hold of your rss as I can't to find your e-mail subscription link or newsletter service. Do you have any? Kindly let me recognise in order that I could subscribe. Thanks.
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : https://hranenie-veshchej-minsk.site/
Paula [37.214.56.xxx] เมื่อ 4/04/2023 20:32
38
อ้างอิง

Ilse
Why viewers still use to read news papers when in this technological world all is existing on net?
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : http://stroitely-tut.ru/
Ilse [37.214.32.xxx] เมื่อ 6/04/2023 21:47
39
อ้างอิง

Helena
Hi, just wanted to tell you, I liked this blog post. It was inspiring. Keep on posting!
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : http://masterstroy-info.ru/
Helena [37.214.32.xxx] เมื่อ 7/04/2023 18:58
40
อ้างอิง

Evie
Howdy this is somewhat of off topic but I was wanting to know if blogs use WYSIWYG editors or if you have to manually code with HTML. I'm starting a blog soon but have no coding experience so I wanted to get advice from someone with experience. Any help would be enormously appreciated!
 
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง : https://hranenie-veshchej-minsk.ru/
Evie [37.214.73.xxx] เมื่อ 10/04/2023 04:52
1234
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :
 

ตรวจสอบสถานะ การจัดส่งของที่สั่ง ทางไปรษณีย์ แบบพัสดุ ลงทะเบียน และ EMS http://track.thailandpost.co.th/